เทียบไซส์รองเท้า EUR,US,UK,JP แชร์ทริกซื้อรองเท้าใหม่อย่างไรให้ถูกไซส์แบบ เป๊ะๆ
Women’s Shoe Sizes | ||
---|---|---|
US | UK | Europe |
8 | 5.5 | 38.5 |
8.5 | 6 | 39 |
9 | 6.5 | 39.5 |
Nog 13 rijen
Contents
รองเท้าเบอร์ 39 คือเบอร์อะไร
Men’s shoe size chart
USA Men | UK | EUR |
---|---|---|
6.5 | 5.5 | 38.5 |
7 | 6 | 39 |
7.5 | 6.5 | 40 |
8 | 7 | 40.5 |
รองเท้า ไซส์ 39 ยาวเท่าไร
เท้ายาว 24 ซม. หน้าเท้ากว้าง 9-9.5 ซม. ใส่เบอร์ 38. เท้ายาว 24.5 ซม. หน้าเท้ากว้าง 9.5 ซม. ใส่เบอร์ 39. เท้ายาว 25 ซม. หน้าเท้ากว้าง 10 ซม. ใส่เบอร์ 40. เท้ายาว 25.5 ซม. หน้าเท้ากว้าง 10-10.5 ซม. ใส่เบอร์ 41.
43 เท่ากับกี่ US
เบอร์ 43 EU = 9 US = 8.5 UK หรือ เท่ากับ 27.5 cm.
ดูเบอร์รองเท้ายังไง
วิธีวัดขนาดเท้า ให้ตรงตามขนาดของรองเท้า – 1.ยืนให้ส้นเท้าชิดติดกับกำเเพง 2.ใช้ตลับเมตรวัดจากส้นเท้าที่ติดกำเเพงออกมา จนถึงปลายนิ้วเท้าที่ยาวที่สุด 3.สมมติวัดได้ 27 เซนติเมตร 4.ให้นำค่าที่วัดได้(27 cm.) ไปเทียบตาราง ค่ารองเท้าที่ได้คือ 44 (หน่วย EU) หรือ 10.5 ในหน่วยของUS
39 เท่ากับกี่ US
เทียบไซส์รองเท้า EUR,US,UK,JP แชร์ทริกซื้อรองเท้าใหม่อย่างไรให้ถูกไซส์แบบ เป๊ะๆ
Women’s Shoe Sizes | ||
---|---|---|
US | UK | Europe |
7.5 | 5 | 38 |
8 | 5.5 | 38.5 |
8.5 | 6 | 39 |
Size EU คืออะไร
US, UK, EU, JPN ตัวอักษรเหล่านี้หมายถึงอะไร? – หยุดก่อนค่ะซิสขา อย่าเพิ่งงงว่าตัวย่อเหล่านี้คือรหัสลับอะไร จริง ๆ แล้วมันคือตัวย่อบอกว่าไซส์รองเท้าเหล่านี้มาจากประเทศอะไร อิงหน่วยวัดโดยประเทศไหน นิยมใช้กันที่ไหนบ้าง งั้นไปทำความรู้จักกันทีละตัวเลยดีกว่า
- US หรือ American Linear Measure คือระบบมาตรฐานไซส์รองเท้าในสหรัฐอเมริกาและแคนาดา ซึ่งความจริงแล้ว ไซส์ของ US จะใหญ่กว่าไซส์ของ UK เพียงเล็กน้อยเพราะอิงมาจากกระบบของอังกฤษ โดยแบบ US ไซส์แรกมีขนาดเริ่มต้นที่ 3 11/12 นิ้ว ส่วนของอังกฤษขนาดแรกยาว 4 นิ้วจึงทำให้ขนาดรองเท้าของ US เล็กกว่าของ UK หากเป็นไซส์ตัวเลขเดียวกัน
- UK หรือ English Linear Measure เป็นระบบมาตรฐานไซส์รองเท้าที่เก่าแก่ที่สุดในโลก คิดค้นโดยอังกฤษ และนิยมใช้ในอังกฤษเช่นเดียวกัน
- EU หรือ Paris Point หรือ (Continental) European Sizing คือระบบมาตรฐานไซส์รองเท้าของยุโรป คิดค้นโดยฝรั่งเศส ซึ่งถือเป็นเมืองแห่งแฟชั่นโลก จึงไม่แปลกหากว่าระบบนี้จะได้รับความนิยมในยุโรปและหลายประเทศทั่วโลก รวมถึงไทยด้วย
- JPN หรือ Japanese Linear Measure คือระบบมาตรฐานไซส์รองเท้าของญี่ปุ่น ง่ายต่อการจำมาก ๆ เพราะมันคือหน่วยเดียวกับเซนติเมตร มักเจอเฉพาะแบรนด์ของญี่ปุ่น และไม่ค่อยได้รับความนิยมในต่างประเทศนัก
รองเท้าผู้ชายกับผู้หญิง ต่างกัน ยัง ไง
ผู้หญิงมีกล้ามเนื้อน้อยกว่าผู้ชายโดยเฉลี่ย 15 เปอร์เซ็นต์ จึงทำให้มีน้ำหนักน้อยกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับผู้ชายที่มีส่วนสูงและขนาดเท้าใกล้เคียงกัน พื้นรองเท้า (ชั้นกลาง) ของรองเท้าวิ่งสำหรับผู้หญิงจึงออกแบบมาให้รองรับแรงกระแทกลดลง 15 เปอร์เซ็นต์ หากสังเกตดูก็จะพบว่า รองเท้าวิ่งของผู้หญิงจะมีพื้นรองเท้าที่เบาและนุ่มกว่าของ
รองเท้าคีนต้องเผื่อไซส์ไหม
คำถามเกี่ยวกับไซต์รองเท้า – แนะนำให้ใส่พอดีเท้า เทียบไซส์ เป็น cm แต่หากความยาวเท้าอยู่ กึ่งกลาง เช่น 23.4 แนะนำให้บวกขึ้นเป็น 24 ครับ สามารถใส่ด้วยกันได้ โดยเทียบความยาวเป็น cm ครับ แต่โดยทั่วไปแล้ว women size ความกว้างของหน้าเท้าจะเล็กกว่า men size ซึ่งผู้หญิงก็อาจจะมีบางท่านที่เท้ากว้างก็สามารถใส่ men size ได้ครับ ยกตัวอย่าง ปกติใส่ women 8 us ถ้าหน้าเท้ากว้าง ก็สามารถเลือกไซส์ผู้ชาย 7 us ได้ครับ
10 ดอลลาร์คิดเป็นเงินไทยกี่บาท
แปลง USD เป็น THB โดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนจริง 10 usd. แปลงเป็น 344.95 thb.
4uk คือไซส์อะไร
4 UK = 37 EU = 6 US = 23 ซม. = 9.3 นิ้ว 4.5 UK = 37.5 EU = 6.5 US = 23.5 ซม. = 9.4 นิ้ว 5 UK = 38 EU = 7 US = 24 ซม. = 9.6 นิ้ว 5.5 UK = 39 EU = 7.5 US = 24.5 ซม. = 9.9 นิ้ว
รองเท้าสเก็ตเชอร์ต้องเผื่อไซส์ไหม
5. เลือกไซต์รองเท้าจากนิ้วเท้าที่ยาวที่สุด โดยไม่ต้องบวกเพิ่มไซต์ เพราะ รองเท้า Skechers ได้คำนวณเผื่อไซต์ไว้ให้แล้ว 6. ถ้าหากวางเท้าแล้วเท้าเกินออกไปจากเส้นมีน้ำเงิน ทาง Skechers แนะนำว่าให้ลองรุ่นหน้าเท้ากว้าง
7.5 นิ้ว เท่ากับเบอร์อะไร
เบอร์ 41 EU = 7.5 US = 7 UK หรือ เท่ากับ 26 cm.
ซื้อรองเท้าควรเผื่อกี่เซน
✅ สำหรับ ผู้ชายแนะนำให้บวกเพิ่ม 1 หรือ 1.5 เซนติเมตร ส่วนผู้หญิงบวกเพิ่ม 0.5 – 1 เซนติเมตร ✅ สาเหตุที่เผื่อก็เพราะว่าถ้าใส่พอดีกับความยาวเท้า ตอนวิ่งนิ้วเท้าจะชนขอบรองเท้า หากไม่แน่ใจเผื่อเท่าไหร่ดี
7 UK เท่ากับเบอร์อะไร
เช่น ถ้ารองเท้าคัทชูปกติที่คุณใส่อยู่เบอร์ 7 (UK) จะเท่ากับ เบอร์ 40 (EU) ของร้าน Ay Raise Shoes.
ใส่รองเท้าหลวม เป็นไรไหม
3 วิธีแก้ปัญหา รองเท้าหลวม.พรีออเดอร์มาผิดไซส์ก็ไม่ต้องกังวล เจอรองเท้าที่ถูกใจทั้งทีก็ขอพรีออเดอร์กันหน่อยดีกว่า แต่ปรากฏว่ารองเท้าที่ได้มากลับไม่พอดีกับไซส์เท้าของตัวเองเพราะหลวมเกินไป ใส่แล้วรู้สึกเหมือนรองเท้าจะหลุดอยู่ตลอดเวลา จะทิ้งรองเท้าคู่นี้ก็เสียดายเพราะเสียตังค์พรีออเดอร์มาแล้ว แถมจะหาคู่ให้เหมือนแบบนี้ก็ไม่มีอีก แบบนี้คงถึงเวลาที่ต้องมาแก้ปัญหาเรื่อง รองเท้าหลวม ใส่ไม่พอดีเท้ากันแล้วล่ะค่ะ การใส่รองเท้าที่หลวมไปก็อาจเป็นสาเหตุให้เกิดอาการรองเท้ากัดได้เหมือนกันนะคะ เพราะรองเท้าหลวมมักจะขยับเวลาเราใส่เดินไปมา ทำให้เกิดการเสียดสีกับเท้าได้ เมื่อใส่ไปนานๆ ก็จะยิ่งทรมานเพราะเท้าคืออวัยวะสำคัญที่มีการใช้งานทุกวัน ถ้าเท้าพังขึ้นมาหรือเกิดเป็นแผลก็จะทำให้ใส่รองเท้าสวยๆ ไม่ได้ค่ะ วันนี้เราจะมาบอกวิธีแก้ปัญหา รองเท้าหลวม ให้สาวๆ กลับมาใส่รองเท้าคู่สวยได้เหมือนเดิม แถมสบายเท้า ไม่ต้องทนรำคาญอีกต่อไปค่ะ
ซื้อรองเท้าควรเผื่อไซส์ไหม
1. เลือกขนาดของรองเท้าที่ใส่แล้วพอดี – ควรเลือกขนาดของรองเท้าที่ใส่แล้วพอดีเท้า ไม่คับหรือหลวมจนเกินไป เพราะหากสวมใส่รองเท้าที่หลวมจะเป็นอุปสรรคในการวิ่งได้ ส่วนการเลือกรองเท้าที่คับจนเกินไป ขณะวิ่งนิ้วเท้าจะกระแทกกับหน้ารองเท้าจนทำให้เกิดอาการห้อเลือดที่เล็บเท้าตามมาได้ ดังนั้น การเลือกรองเท้าที่สวมใส่แล้วพอดี ควรให้นิ้วเท้าที่ยาวที่สุดห่างจากปลายรองเท้าประมาณครึ่งนิ้ว เพื่อให้มีพื้นที่ว่างในส่วนหน้ารองเท้าเล็กน้อย จะได้ไม่เกิดอาการห้อเลือดจากการวิ่ง
38ไซส์อะไร
Size L อก : 36-37 เอว : 30-31 สะโพก : 38-39. Size XL อก : 38-39 เอว : 32-33 สะโพก : 40-41. Size XXL อก : 40-41 เอว : 34-35 สะโพก : 42-43.
US EU คืออะไร
How to วิธีวัดขนาดเท้า ให้ได้ไซส์รองเท้าที่ใช่สำหรับคุณ เดี๋ยวนี้ถ้าอยากได้รองเท้าสักคู่ ก็ไม่ต้องไปเดินเลือกซื้อที่ร้านกันแล้วค่ะ เพราะช็อปปิ้งออนไลน์จะทำให้คุณสะดวกสบายกว่าที่เคยเป็น แต่ปัญหาก็มาติดอยู่ที่นี่ พอจะสั่งซื้อก็ดันไม่รู้ไซส์รองเท้า กลัวซื้อมาแล้วใส่ไม่ได้ หรือถ้าใส่ไม่ได้ ร้านค้าจะไม่ให้เปลี่ยน เอาอย่างนี้ค่ะ เพื่อความชัวร์ เราจะมาแนะนำวิธีวัดขนาดเท้า เพื่อให้ได้ไซส์รองเท้าที่ใช่ รับรองไม่ว่าจะซื้อที่ไหน ใส่ได้อย่างแน่นอน ไซส์รองเท้าต่างกันในแต่ละประเทศ เราอาจจะเคยเห็นเวลาซื้อรองเท้า หน้าตัวเลขที่บอกไซส์รองเท้าจะมีการระบุตัวย่อภาษาอังกฤษ เช่น US, UK, EU การระบุมาตรฐานไซส์รองเท้าของแต่ละประเทศหลัก ๆ โดยอิงหน่วยเป็นเซนติเมตรนั่นเองค่ะ
- UK หรือชื่อเต็ม English Linear Measure คือการวัดไซส์รองเท้าของประเทศอังกฤษ ซึ่งไซส์จะเริ่มต้นที่ 4 นิ้ว
- US หรือชื่อเต็ม American Linear Measure คือการวัดไซส์รองเท้าในแถบอเมริกา หน่วยเทียบจะอิงกับ UK ต่างกันที่ US ไซส์จะเริ่มต้นที่ 3 นิ้ว
- EU หรือชื่อเต็ม European Sizing เป็นการวัดไซส์รองเท้าในประเทศแถบยุโรป ยกเว้นอังกฤษ และนิยมใช้กันมากในฝรั่งเศส
สำหรับการวัดไซส์รองเท้าของทั้ง 3 โซนนั้น จะให้หน่วยเป็นเซนติเมตร ยกเว้น JP หรือการวัดไซส์รองเท้าของญี่ปุ่น หน่วยที่ได้จะเป็นมิลลิเมตร เหมือนที่เราเห็นทั่ว ๆ ไป เช่น 240, 245, 250 วิธีวัดไซส์รองเท้าง่าย ๆ ที่คุณก็ทำได้ด้วยตัวเอง วิธีการง่าย ๆ ที่จะช่วยให้เรารู้ไซส์รองเท้าของตัวเอง โดยไม่จำเป็นต้องมีเครื่องมืออะไรมาก นอกจากกระดาษ ปากกา ไม้บรรทัด และเท้าของคุณเอง มีขั้นตอนดังนี้
- ให้คุณยืนบนกระดาษที่วางไว้บนพื้นที่เรียบและแข็ง โดยส้นเท้าชิดกับกำแพง เหยียบเต็มน้ำหนักให้เท้าแนบชิดกับกระดาษ 2. ใช้ปากกาวาดรูปเท้าของคุณบนกระดาษที่วางไว้ หากขั้นตอนนี้ยืนแล้วไม่ถนัดนัก แนะนำให้นั่งเก้าอี้แล้ววาดค่ะ แต่ควรระวังให้เท้าแนบชิดกับกระดาษมากที่สุด
- เมื่อเราได้รูปเท้าแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือ ให้ใช้ไม้บรรทัดขีดเส้นตรงตั้งฉากจากปลายนิ้วเท้าที่ยื่นยาวที่สุดไปยังส้นเท้า โดยให้หน่วยเป็นเซนติเมตร และอย่าลืมวัดความกว้างของเท้าด้วย จากนั้นเขียนขนาดกำกับไว้แล้วบวกเพิ่ม 0.5 หรือ 1 เซนติเมตร เผื่อใครที่สวมถุงเท้า แต่ถ้าใครไม่ใส่ถุงเท้าอยู่แล้ว ก็ไม่จำเป็นต้องบวกเพิ่มก็ได้ค่ะ วัดเป็นเท้าเราเพียว ๆ ไปเลย
- นำไซส์ของเท้าที่ได้ไปเทียบกับตารางไซส์รองเท้า (สามารถดูได้ในอินเทอร์เน็ต)
Tips:
- การวัดไซส์รองเท้าควรทำในช่วงเย็น เนื่องจากเท้าของคุณจะขยายใหญ่เต็มที่ แต่ในช่วงเช้า เท้าจะหดตัว ทำให้การวัดไซส์รองเท้าอาจคลาดเคลื่อนได้ค่ะ
- ควรเลือกรองเท้าที่พอดีกับเท้า ไซส์รองเท้าจะต้องไม่หลวมเกินไปและไม่คับเกินไป ซึ่งนี่อาจจะเป็นข้อเสียของการเลือกซื้อรองเท้าออนไลน์ เพราะเราไม่สามารถลองใส่เดินได้ การเลือกไซส์รองเท้าจึงเป็นเหมือนการคาดคะเนไซส์ที่คิดว่าจะใส่ได้ จึงรองเท้าแต่ละยี่ห้อก็ทำไซส์รองเท้าออกมาไม่มาตรฐาน ดังนั้นจึงควรต้องเลือกดูดี ๆ ด้วยค่ะ
- การวัดหน้ากว้างของเท้าก็สำคัญมาก บางคนมีหน้าเท้าที่กว้าง แต่ถ้ารองเท้าที่ซื้อมีลักษณะหน้าแคบ คุณอาจจะใส่ได้ไม่สบายนัก
ต่อไปการเลือกซื้อรองเท้าออนไลน์ก็จะไม่ยากอีกต่อไป เพราะแค่เพียงเรารู้ไซส์รองเท้าของตัวเอง ด้วยวิธีการวัดที่ง่าย ๆ ที่เราได้นำเอามาฝากกัน แค่นี้ คุณก็สามารถช็อปรองเท้าออนไลน์ได้สนุกและมั่นใจขึ้นด้วยว่า รองเท้าที่ซื้อมานั้นจะสามารถใส่ได้อย่างพอดี หรือกะไซส์รองเท้าที่ไม่ทิ้งจากไซส์ของเท้าเราไปมากนัก ที่คลินิกตรวจสุขภาพเท้าของเรา มีเครื่อง Foot pressure sensor เครื่องตรวจวัดเท้าที่จะใช้จากการเดินเพื่อวัดแรงกดของเท้า วัดความดันของเท้าได้อย่างแม่นยำและมีประสิทธิภาพนั้นมีความสำคัญต่อการพัฒนา เพื่อที่จะนำข้อมูลในการเดินไปวิจัยท่าทางเพื่อออกแบบรองเท้าสุขภาพให้ตรงตามแต่ละบุคคล ซึ่ง ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี Foot pressure sensor นั้น สามารถทำให้สามารถจำลองขนาดเท้าของเราให้เป็นรูปแบบ 3D และทราบขนาดเท้าของเราอย่างละเอียด “สุขภาพที่ดี เริ่มต้นที่เท้า” คลินิกตรวจสุขภาพเท้า โดยผู้เชี่ยวชาญได้ที่โรงงาน ใกล้ Central พระราม 2 หรือช็อบบน ICON SIAM ในห้าง Siam Takashimaya ชั้น 2 แผนกรองเท้าสุขภาพ หรือสามารถสั่งตัดรองเท้าสำหรับผู้สูงอายุได้ ที่ https://shop.line.me/@talon/ foot clinic เปิดบริการ จันทร์-เสาร์ 8.30-17.30 น.
EU ย่อมาจากประเทศอะไร
สหภาพยุโรป (European Union – EU) – กระทรวงการต่างประเทศ
- ข้อมูลทั่วไป
- ที่ตั้ง ประเทศในทวีปยุโรป 27 ประเทศ (ออสเตรีย เบลเยียม เดนมาร์ก ฟินแลนด์
- ฝรั่งเศส เยอรมนี กรีซ ไอร์แลนด์ อิตาลี ลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ โปรตุเกส
- สเปน สวีเดน สหราชอาณาจักร ไซปรัส เช็ก เอสโตเนีย ฮังการี ลัตเวีย
- ลิทัวเนีย มอลตา โปแลนด์ สโลวีเนีย สโลวะเกีย โรมาเนียและบัลแกเรีย)
พื้นที่ 4.325 ล้าน ตารางกิโลเมตร (8.4 เท่าของไทย) ประชากร 502.47 ล้านคน (ค.ศ.2011)
- ภาษา ภาษาทางการ 23 ภาษา
- ศาสนา ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ ศาสนาอื่น ๆ เช่น ยิว อิสลาม พุทธ
- ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ กรุงบรัสเซลส์ (Brussels) ประเทศเบลเยียม
- สกุลเงิน ยูโร (เขตยูโร หรือ Eurozone คือ ประเทศสมาชิกสหภาพยุโรปที่ใช้เงินสกุลยูโร
- มี 17 ประเทศ ได้แก่ ออสเตรีย เบลเยียม ฟินแลนด์ ฝรั่งเศส เยอรมนี กรีซ
- ไอร์แลนด์ อิตาลี ลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ โปรตุเกส สเปน สโลวีเนีย
- ไซปรัส มอลตา สโลวะเกีย และเอสโตเนีย)
อัตราแลกเปลี่ยน 1 ยูโร = 39.96 บาท (ณ วันที่ 30 พฤษภาคม ค.ศ.2011) ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ( GDP at current price, PPPs) 16.53 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ (ค.ศ.2011) อัตราการเจริญเติบโตของ GDP ร้อยละ 1.5 (ค.ศ.2011) รายได้เฉลี่ยต่อหัว ประมาณ 34,000 ดอลลาร์สหรัฐ (ตัวเลขประมาณการ ปี ค.ศ.2011) อัตราการว่างงาน ร้อยละ 9.7 (ค.ศ.2011) อัตราเงินเฟ้อ ร้อยละ 3.1 (ค.ศ.2011)
- คู่ค้าสำคัญ สหรัฐอเมริกา จีน รัสเซีย สวิตเซอร์แลนด์ นอร์เวย์ ตุรกี ญี่ปุ่น อินเดีย บราซิล
- สินค้านำเข้าสำคัญ น้ำมันปิโตรเลียม/น้ำมันดิบ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม อุปกรณ์โทรคมนาคม
- คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สำนักงาน
- สินค้าส่งออกสำคัญ ยานยนต์ เครื่องจักรกลและอุปกรณ์อุตสาหกรรมและไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์
- ทางการแพทย์และเภสัชกรรม เคมีภัณฑ์ เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์
- ทรัพยากรสำคัญ แร่เหล็ก ก๊าซธรรมชาติ ปิโตรเลียม ถ่านหิน ทองแดง ตะกั่ว สังกะสี
- ยูเรเนียม
วันก่อตั้ง (Europe Day) 9 พฤษภาคม ค.ศ.1950
- ประธานคณะมนตรียุโรป นายเฮอแมน วาน รอมปาย (Herman Van Rompuy) (เบลเยียม)
- ประธานสภายุโรป นายมาร์ติน ชูลส์ (Martin Schulz) พรรค Group of the Progressive
- Alliance of Socialists and Democrats (S&D) (เยอรมนี)
- ประธานคณะกรรมาธิการยุโรป นายโฮเซ มานูเอล บาโรโซ
- (Jose Manuel Barroso) (โปรตุเกส)
- ผู้แทนระดับสูงของ EU ด้านการต่างประเทศและนโยบายความมั่นคง
- บารอนเนสแคทเธอรีน แอชตัน
- (Baroness Catherine Ashton) (สหราชอาณาจักร)
ประธานสหภาพยุโรปหมุนเวียน (ม.ค. – มิ.ย.2555)
- นางเฮลเลอร์ ทอร์นนิ่ง ชมิดท์ (Helle Thorning Schmidt) นายกรัฐมนตรีเดนมาร์ก
- สถานะและความสำคัญของสหภาพยุโรป
- • เป็นการรวมกลุ่มระดับภูมิภาคที่ใหญ่ที่สุดและก้าวหน้าที่สุดในโลก (supranational cooperation) และมีบทบาทสำคัญต่อทิศทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมระดับโลก • ในด้านเศรษฐกิจ สหภาพยุโรปมี GDP สูง ที่สุดในโลก เป็นตลาดสินค้าและบริการ ตลาดการเงิน และผู้ลงทุนในต่างประเทศที่สำคัญ รวมทั้งมีบรรษัทข้ามชาติระดับโลกเป็นจำนวนมากที่สุด
• บูรณาการ ของสหภาพยุโรปมีความเข้มแข็งยิ่งขึ้นภายหลังสนธิสัญญาลิสบอนมีผลใช้บังคับ เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม ค.ศ.2009 ซึ่งทำให้สหภาพยุโรปมีสถานะทางกฎหมายอย่างสมบูรณ์ สามารถจัดทำความตกลงกับต่างประเทศ เข้าเป็นภาคีอนุสัญญาระหว่างประเทศ และเป็นสมาชิกองค์การระหว่างประเทศได้ ความเป็นมา • ค.ศ.1952 : จัดตั้งประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้าแห่งยุโรป (European Coal and Steel Community – ECSC) มีสมาชิก 6 ประเทศ ได้แก่ ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม และลักเซมเบิร์ก • ค.ศ.1957 : ประเทศสมาชิก ECSC ลงนามสนธิสัญญากรุงโรม (Treaty of Rome) ซึ่งถือเป็น จุดกำเนิดของการก่อตั้งประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (European Economic Community – EEC) ในปี ค.ศ.1958 ซึ่งได้พัฒนามาเป็นสหภาพยุโรปในปัจจุบัน • ค.ศ.1958 : จัดตั้งประชาคมพลังงานปรมาณูยุโรป (European Atomic Energy Community – EURATOM) • ค.ศ.1967 : ทั้งสามองค์กร คือ ECSC, EURATOM และ EEC รวมตัวกันภายใต้ กรอบประชาคมยุโรป (European Communities) • ค.ศ.1968 : EEC ได้พัฒนาเป็นสหภาพศุลกากร (Customs Union) และก้าวสู่การเป็น ตลาดร่วม (Common Market) • ค.ศ.1973 : สหราชอาณาจักร เดนมาร์ก และไอร์แลนด์เข้าเป็นสมาชิก • ค.ศ.1981 : กรีซเข้าเป็นสมาชิก • ค.ศ.1986 : สเปนและโปรตุเกสเข้าเป็นสมาชิก • ค.ศ.1987 : Single European Act พัฒนา EEC ให้เป็นตลาดร่วมหรือตลาดเดียว เมื่อวันที่
- 1 มกราคม 1993 และเรียกชื่อใหม่ว่า ประชาคมยุโรป (European Community –
- EC)
• ค.ศ.1992 : ลงนามในสนธิสัญญาก่อตั้งสหภาพยุโรป (Treaty of the European Union) หรือ
- อีกชื่อหนึ่งว่า สนธิสัญญามาสทริกท์ (Maastricht Treaty) เรียกชื่อใหม่ว่า
- สหภาพยุโรป (European Union – EU) มี 3 เสาหลัก คือ (1) ประชาคมยุโรป
- (2) นโยบายร่วมด้านการต่างประเทศและความมั่นคง และ (3) ความร่วมมือด้าน
- กิจการยุติธรรมและกิจการภายใน
• ค.ศ.1995 : ออสเตรีย ฟินแลนด์ และสวีเดนเข้าเป็นสมาชิก • ค.ศ.1997 : ลงนามในสนธิสัญญาอัมสเตอร์ดัม (Treaty of Amsterdam) แก้ไขเพิ่มเติม
- สนธิสัญญามาสทริกท์เรื่องนโยบายร่วมด้านการต่างประเทศและความมั่นคง
- ความเป็นพลเมืองของสหภาพยุโรป และการปฏิรูปกลไกด้านสถาบันของ
- สหภาพยุโรป
• ค.ศ.2001 : ลงนามในสนธิสัญญานีซ (Treaty of Nice) เน้นการปฏิรูปด้านสถาบันและกลไก ต่าง ๆ ของสหภาพยุโรปเพื่อรองรับการขยายสมาชิกภาพ • ค.ศ.2004 : รับสมาชิกเพิ่มอีก 10 ประเทศ ได้แก่ ไซปรัส เช็ก เอสโตเนีย ฮังการี ลัตเวีย ลิทัวเนีย มอลตา โปแลนด์ สโลวะเกีย และ สโลวีเนีย • ค.ศ.2007 : รับสมาชิกเพิ่มอีก 2 ประเทศ ได้แก่ โรมาเนียและบัลแกเรีย (รวมประเทศสมาชิก 27 ประเทศ) • 1 ธันวาคม ค.ศ.2009 : สนธิสัญญาลิสบอนมีผลใช้บังคับ สถาบันหลักของสหภาพยุโรป คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป ( Council of the European Union) • เป็นองค์กรตัดสินใจหลักของ EU โดยผู้แทนของประเทศสมาชิก EU ทั้งหมด มีหน้าที่พิจารณาร่างกฎระเบียบของ EU และอนุมัติงบประมาณ (ร่วมกับสภายุโรป) และเป็นเวทีสำคัญในการประสานงานด้านนโยบายเศรษฐกิจ นโยบายร่วมด้านการต่างประเทศและความมั่นคง (CFSP) ตลอดจนกำกับดูแลการทำงานของคณะกรรมาธิการยุโรป และประสานงานเรื่องอื่นๆ ระหว่างประเทศสมาชิก EU ทั้งนี้ ประเทศสมาชิก EU จะผลัดกันทำหน้าที่เป็นประธานคณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป วาระ 6 เดือน โดยจะทำหน้าที่ประธานในการประชุมระดับรัฐมนตรีของประเทศสมาชิก EU ในสาขาต่างๆ ยกเว้นในด้านการต่างประเทศซึ่งสนธิสัญญาลิสบอนกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของผู้แทนระดับสูงของ EU ด้านการต่างประเทศและนโยบายด้านความมั่นคง • หน้าที่หลักของคณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป มีดังนี้ 1.
- 4. ประสานความร่วมมือระหว่างตำรวจและศาลยุติธรรมในการปราบปรามอาชญากรรม
- คณะกรรมาธิการยุโรป ( European Commission) • คณะ ผู้บริหารของคณะกรรมาธิการยุโรปประกอบด้วยประธาน 1 คน รองประธานและกรรมาธิการรวมกันอีก 26 คน (ตามจำนวนประเทศสมาชิก 27 ประเทศ) และข้าราชการประจำประมาณ 25,000 คน คณะผู้บริหารฯ มีวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปี และได้รับการแต่งตั้งโดย
- คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป โดยความเห็นชอบของสภายุโรป (ซึ่งมีอำนาจลงมติไม่รับรอง
- คณะผู้บริหารคณะกรรมาธิการยุโรปทั้งคณะ แต่ไม่มีอำนาจที่จะเลือกไม่รับรองกรรมาธิการเป็นรายบุคคล)
• คณะผู้บริหารชุดปัจจุบันมีวาระการดำรงตำแหน่งระหว่างปี ค.ศ.2010 – 2014 • หน้าที่หลักของคณะกรรมาธิการยุโรป มีดังนี้ 1. ริเริ่มร่างกฎหมายและเสนอให้คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป และสภายุโรป (ในกรณีส่วนใหญ่) พิจารณาให้ความเห็นชอบก่อนที่ประเทศสมาชิก EU และ/หรือสถาบันของ EU ที่เกี่ยวข้องจะนำไปปฏิบัติ 2.ในฐานะที่เป็นฝ่ายบริหารของ EU มีหน้าที่ในการนำกฎหมาย การจัดสรรงบประมาณ และนโยบายระดับ EU ไปปฏิบัติ 3.พิทักษ์รักษาสนธิสัญญาต่างๆ และทำงานร่วมกับศาลยุติธรรมยุโรป ในการดูแลให้กฎหมาย EU ถูกนำไปใช้อย่างเหมาะสม
- 4.เป็นตัวแทนของ EU ใน เวทีการเมืองระหว่างประเทศ และทำหน้าที่ในการเจรจาต่อรองข้อตกลงระหว่างประเทศ โดยส่วนใหญ่จะเป็นการเจรจาในเรื่องการค้าและความร่วมมือระหว่างกัน
- สภายุโรป ( European Parliament) • สมาชิกสภายุโรปอยู่ในวาระครั้งละ 5 ปี มาจากการเลือกตั้งโดยตรงในประเทศสมาชิก EU เดิมมีบทบาทด้านนิติบัญญัติจำกัดมากโดยไม่มีอำนาจเสนอร่างกฎระเบียบของ EU อย่างไรก็ดี สนธิสัญญาลิสบอนได้เพิ่มอำนาจให้กับสภายุโรปในการพิจารณารับรองร่างกฎระเบียบของ EU เพิ่มขึ้นกว่า 50 สาขา ภายใต้ ‘co-decision procedure’ ทำให้สภายุโรปมีบทบาทเท่าเทียมกับคณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรปในการพิจารณารับรองกฎระเบียบของ EU ซึ่งครอบคลุมถึง
ความตกลงระหว่าง EU กับประเทศที่สาม อาทิ ความตกลงเขตการค้าเสรี กรอบความตกลงว่าด้วยความเป็นหุ้นส่วนและความร่วมมือ (Partnership and Cooperation Agreement – PCA) • การเลือกตั้งสมาชิกสภายุโรป (Members of the European Parliament – MEPs) ครั้ง แรกจัดขึ้นเมื่อ ค.ศ.1979 การเลือกตั้งครั้งล่าสุดจัดขึ้นระหว่างวันที่ 4-7 มิถุนายน ค.ศ.2009 โดยมีผู้ที่ได้รับเลือกตั้งจำนวน 736 คน จากกลุ่มการเมืองต่างๆ ในประเทศสมาชิก EU ดังนี้
- 1) กลุ่มพรรคอนุรักษ์นิยม Group of the European People’s Party – Christian Democrats (EPP) ได้ที่นั่งมากที่สุด จำนวน 264 ที่นั่ง
- 2) กลุ่มพรรคสังคมนิยม Party of European Socialists (PES) ได้ 161 ที่นั่ง 3) กลุ่มพรรค Alliance of Liberals and Democrats for Europe (ALDE) ได้ 80 ที่นั่ง
- 4) กลุ่มพรรค Green/ European Free Alliance ได้ 53 ที่นั่ง
- 5) กลุ่มพรรค Union for Europe of the Nations (UEN) ได้ 35 ที่นั่ง (พรรคการเมืองฝ่ายขวา)
- 6) กลุ่ม European United Left – Nordic Green Left (GUE/NGL) ได้ 32 ที่นั่ง
- 7) กลุ่มอิสระ Independence/Democracy Group (IND/DEM) ได้ 18 ที่นั่ง (พรรคการเมืองฝ่ายขวา)
- 8) พรรคอื่นๆ ได้ 93 ที่นั่ง • สภา ยุโรปมีคณะกรรมาธิการสภาดูแลเฉพาะเรื่องต่าง ๆ เช่น กิจการระหว่างประเทศ งบประมาณ สิ่งแวดล้อม และมีกลุ่มสมาชิกสภายุโรปที่ดูแลความสัมพันธ์กับประเทศที่สาม อาทิ กลุ่มดูแลความสัมพันธ์กับประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอาเซียน
- • หน้าที่หลักของสภายุโรป มีดังนี้
- 4. ให้ความเห็นชอบข้อตกลงระหว่างประเทศที่สำคัญ เช่น การรับสมาชิกใหม่ และความตกลงด้านการค้าหรือการมีความสัมพันธ์ในเชิงการรวมกลุ่มระหว่างสหภาพ ยุโรปกับประเทศที่สาม
- คณะมนตรียุโรป ( European Council) • นอกจากทั้ง 3 สถาบันข้างต้นแล้ว ยังมีคณะมนตรียุโรป (European Council) ซึ่งเป็นเวที
- การประชุมของประมุขแห่งรัฐ/ผู้นำรัฐบาลของประเทศสมาชิก EU โดยมีการประชุมคณะมนตรียุโรปอย่างเป็นทางการปีละ 4 ครั้ง (ประธานคณะกรรมาธิการยุโรปเข้าร่วมการประชุมด้วยทุกครั้ง) โดยผู้นำ EU จะร่วมกันตัดสินใจในประเด็นด้านนโยบายที่สำคัญต่อ EU และแม้ว่าผลการประชุมของคณะมนตรียุโรปจะไม่มีผลบังคับทางกฎหมาย แต่ก็มีส่วนสำคัญอย่างมากในการกำหนดทิศทางและนโยบายทั้งกิจการภายใน EU และนโยบายต่างประเทศของ EU และเป็นกรอบปฏิบัติให้กับสถาบันอื่นๆ ของ EU • สนธิสัญญาลิสบอนได้ให้สถานะทางกฎหมายแก่คณะมนตรียุโรป และมีการสร้างตำแหน่งใหม่ คือ ประธานคณะมนตรียุโรป (President of the European Council) ซึ่งมีวาระการดำรงตำแหน่ง 2 ปีครึ่ง และไม่เกิน 2 สมัย ปัจจุบัน นาย Herman Van Rompuy อดีตนายกรัฐมนตรีเบลเยียม ได้รับการเลือกตั้งโดยฉันทามติจากรัฐสมาชิก EU ทั้ง 27 ประเทศให้ดำรงตำแหน่งดังกล่าว โดย
1. พิจารณาและรับรองกฎระเบียบของสหภาพยุโรปในสาขาที่ได้รับมอบหมายอำนาจตามที่ ระบุในสนธิสัญญาลิสบอน โดยใช้อำนาจร่วมกับคณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป 2. อนุมัติงบประมาณของสหภาพยุโรป 3. ตรวจสอบการทำงานของสถาบันต่าง ๆ ในสหภาพยุโรปตามหลักประชาธิปไตย รวมทั้งจัดตั้งคณะกรรมการเพื่อทำการไต่สวน เข้า รับหน้าที่พร้อมกับการมีผลใช้บังคับของสนธิสัญญาลิสบอน เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม ค.ศ.2009 (เริ่มปฏิบัติหน้าที่จริงตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ.2010)
- • หน้าที่หลักของประธานคณะมนตรียุโรป มีดังนี้
- 1. ทำหน้าที่ประธานในการประชุมคณะมนตรียุโรป (ที่ประชุมประมุขแห่งรัฐ/ผู้นำรัฐบาลของประเทศสมาชิก EU)
- 2. ทำหน้าที่ผู้แทน EU ในระดับประมุขแห่งรัฐ/ผู้นำรัฐบาลในด้านนโยบายร่วมด้านการต่างประเทศและความมั่นคง อาทิ ในการประชุมผู้นำระหว่าง EU กับประเทศอื่นๆ
- 3. ทำหน้าประธานในการประชุมผู้นำประเทศสมาชิกในเขตยูโร (Euro Summit)
- สนธิสัญญาลิสบอน ( Treaty of Lisbon)
• ประเทศสมาชิก EU ตระหนักถึงความจำเป็นในการปรับปรุงโครงสร้างเพื่อตอบสนองกระบวนการบูรณาการภายใน EU ที่ก้าวหน้าขึ้น และความประสงค์ที่จะขยายบทบาทของ EU ในประชาคมโลก โดยในชั้นแรกเห็นควรให้จัดทำ “ธรรมนูญยุโรป” (European Constitution) แต่แนวคิดดังกล่าวต้องล้มเลิกไปเนื่องจากประชาชนฝรั่งเศส และ ประชาชนเนเธอร์แลนด์ได้ปฏิเสธร่างธรรมนูญยุโรปในการจัดทำประชามติในทั้ง 2 ประเทศ เมื่อ ค.ศ.2004 และ ค.ศ.2005 ตามลำดับ ต่อมา เมื่อวันที่ 18 – 19 ตุลาคม ค.ศ.2007 ประมุขแห่งรัฐ/ผู้นำรัฐบาลของประเทศสมาชิก EU สามารถบรรลุข้อตกลงระหว่างกันให้เปลี่ยนจากการจัดทำธรรมนูญยุโรปเป็นการจัดทำสนธิสัญญา (Treaty) แทน โดยเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ.2007 ประมุขแห่งรัฐ/ผู้นำรัฐบาลของประเทศสมาชิก EU ทั้ง 27 ประเทศ ได้ร่วมลงนามในสนธิสัญญาลิสบอน ที่กรุงลิสบอน ประเทศโปรตุเกส ทั้งนี้ สนธิสัญญาลิสบอนมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม ค.ศ.2009
- • สาระสำคัญของสนธิสัญญาลิสบอน ได้แก่
- 1) เป็นสนธิสัญญาระหว่างรัฐสมาชิก EU ที่ให้ความเห็นชอบในการสละอำนาจอธิปไตยบางส่วนให้แก่ความร่วมมือเหนือชาติ (supranational cooperation) โดย Article 3 ของสนธิสัญญาลิสบอนระบุว่า EU มีอำนาจเบ็ดเสร็จ (exclusive competences) ในเรื่อง (1) สหภาพศุลกากร (customs union) (2) การออกกฎระเบียบด้านการแข่งขัน (competition rules) ที่จำเป็นต่อ การทำหน้าที่ของตลาดภายใน (3) นโยบายด้านการเงิน (monetary policy) สำหรับรัฐสมาชิก EU ที่ใช้สกุลเงินยูโร (4) การอนุรักษ์ทรัพยากรชีวภาพทางทะเล (marine biological resources) ภายใต้นโยบายร่วมด้านประมง และ (5) นโยบายการค้าร่วม (common commercial policy)
- 2) สนธิสัญญาฯ กำหนดให้สร้างตำแหน่งผู้บริหารขึ้น 2 ตำแหน่งใหม่ คือ
- 2.1 ประธานคณะมนตรียุโรป (President of the European Council) (เทียบเท่าผู้นำรัฐบาล/ประมุขแห่งรัฐ)
- 2.2 ผู้แทนระดับสูงของสหภาพยุโรปด้านการต่างประเทศและนโยบายความมั่นคง (EU High Representative for Foreign Affairs and Security Policy (เทียบเท่ารัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของ EU) มี หน้าที่ (1) ดูแลเรื่องนโยบายต่างประเทศและความมั่นคงที่มาจากการตัดสินใจร่วมกันของ ประเทศสมาชิก และเป็นประธานในการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศของประเทศสมาชิก EU (แทนระบบประเทศสมาชิกผลัดกันเป็นประธาน วาระละ 6 เดือน)
- (2) ดำรงตำแหน่งรองประธานคณะกรรมาธิการยุโรปอีกตำแหน่ง โดยกำกับดูแลงานภายในคณะกรรมาธิการยุโรปที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศ ยกเว้นการค้าระหว่างประเทศ
- การขยายสมาชิกภาพของ EU และ การให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบัติ ซึ่งทำให้บุคคลที่รับหน้าที่นี้มีอำนาจหน้าที่ทั้งในคณะกรรมาธิการยุโรป และคณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป ปัจจุบัน Baroness Catherine Ashton (สัญชาติบริติช) ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้แทนระดับสูงของ EU ด้านการต่างประเทศฯ คนแรก
- อย่างไรก็ดี ประเทศสมาชิก EU ยัง คงมีอำนาจในการดำเนินนโยบายต่างประเทศและนโยบายด้านการทหาร/ความมั่นคงเช่น เดิม โดยการสนับสนุนด้านทรัพยากรบุคคลทั้งพลเรือนและทหารแก่ EU เพื่อการดำเนินการด้านการป้องกันและความปลอดภัยร่วม (Common Security and Defence operations) ขึ้นอยู่กับความสมัครใจของแต่ละประเทศสมาชิก
- 3) สนธิสัญญาลิสบอนกำหนดให้มีการจัดตั้ง European External Action Service (EEAS) เพื่อทำหน้าที่เป็น “กระทรวงการต่างประเทศ” ของ EU โดยมีการคัดสรรบุคลากรจากกระทรวง
- การต่างประเทศของประเทศสมาชิกและสถาบันอื่นๆ ของ EU มาปฏิบัติราชการเพื่อสนับสนุน
- การทำงานของผู้แทนระดับสูงของ EU ด้านการต่างประเทศฯ และ EEAS เริ่มปฏิบัติการเมื่อวันที่
1 มกราคม ค.ศ.2011 โดยขึ้นตรงต่อ Baroness Ashton และดำเนินงานเป็นอิสระจากคณะกรรมาธิการยุโรปและคณะมนตรียุโรป โดยมีสำนักงานใหญ่ ณ กรุงบรัสเซลส์
- การจัดตั้ง EEAS ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงชื่อเรียกของสำนักงานคณะผู้แทนคณะกรรมาธิการยุโรป เป็นสำนักงานคณะผู้แทน EU โดยอยู่ภายใต้สังกัด EEAS เอกอัครราชทูตและหัวหน้าคณะผู้แทน EU ทำหน้าที่เป็นผู้แทน EU ในการดำเนินนโยบายร่วมด้านการต่างประเทศและความมั่นคงกับประเทศที่สาม
- อำนาจหน้าที่ของ EEAS ได้แก่ (1) ทำหน้าที่เป็นกระทรวงการต่างประเทศของ EU ในด้านนโยบายร่วมด้านการต่างประเทศและความมั่นคง (2) รับผิดชอบในเรื่องการยุติความขัดแย้งระหว่างประเทศและการสร้างสันติภาพ ส่วนคณะกรรมาธิการยุโรปรับผิดชอบงานด้านการให้ความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนา พลังงาน การขยายสมาชิกภาพของ EU และการค้าระหว่างประเทศ
- EEAS ภายใต้การนำของ Baroness Ashton ให้ความสำคัญเป็นพิเศษกับความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้านของ EU และความสัมพันธ์กับประเทศที่ EU มองว่ามีศักยภาพในด้านการเมืองและเศรษฐกิจ อาทิ บราซิล รัสเซีย อินเดีย จีน แอฟริกาใต้ และสาธารณรัฐเกาหลี โดย EU กำหนดให้ประเทศเหล่านี้เป็น “หุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์” (strategic partners) นอกจากนั้น Baroness Ashton มีความสนใจจะขยายความร่วมมือกับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยเฉพาะในกรอบ ASEAN และ ASEAN Regional Forum (ARF)
- 4) สนธิสัญญาลิสบอนเป็นสนธิสัญญาฉบับแรกที่ให้พื้นฐานทางกฎหมายแก่ EU ใน การดำเนินการด้านความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม โดยมีการระบุอย่างชัดเจนว่า การลดและขจัดความยากจนในประเทศที่สามเป็นวัตถุประสงค์สำคัญของนโยบายความ ร่วมมือเพื่อการพัฒนาของ EU อย่างไรก็ดี การดำเนินนโยบายนี้ยังขึ้นอยู่กับดุลพินิจของแต่ละประเทศสมาชิก EU เนื่องจากไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของนโยบายร่วมด้านการต่างประเทศและความมั่นคง
- 5) สนธิสัญญาลิสบอนให้ความสำคัญต่อสิ่งแวดล้อม และการจัดการปัญหาการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ โดยกำหนดว่า เป้าหมายหนึ่งของ EU ได้แก่ การพัฒนาที่ยั่งยืนบนพื้นฐานของการปกป้องและพัฒนาคุณภาพของสิ่งแวดล้อม โดยการจัดการกับปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นเป้าหมายที่สำคัญ ประการหนึ่งภายใต้นโยบายด้านสิ่งแวดล้อมของ EU นอกจากนี้ สนธิสัญญาลิสบอนยังระบุว่า การพัฒนาที่ยั่งยืนเป็นเป้าหมายหนึ่งของ EU ในการดำเนินความสัมพันธ์กับประเทศที่สาม
- 6) สนธิสัญญาลิสบอนได้กำหนดให้สภายุโรปมีบทบาทมากขึ้นเนื่องจากได้รับอำนาจมากขึ้นในการร่วมพิจารณาร่างกฎหมายของ EU เกือบทั้งหมด (ในกระบวนการ co-decision ร่วมกับคณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป) เช่น เกษตรกรรม พลังงาน ความมั่นคง การตรวจคนเข้าเมือง ยุติธรรม มหาดไทย และสาธารณสุข สนธิสัญญาลิสบอนยังกำหนดให้สภายุโรปต้องหารือกับรัฐสภาของประเทศสมาชิก เกี่ยวกับร่างกฎหมาย ตั้งแต่เริ่มต้นกระบวนการพิจารณาร่างกฎหมาย ซึ่งจะทำให้การทำงานของ EU มีลักษณะเป็นประชาธิปไตย มากขึ้น และในขณะเดียวกัน จะมีความคาดหวังจากสภายุโรปสูงขึ้นเช่นกัน นอกจากนี้ มีการเพิ่มจำนวนสมาชิกสภายุโรปจากเดิมจำนวน 736 คน เป็นจำนวนไม่เกิน 750 คน โดยแต่ละประเทศสมาชิกจะมีสมาชิกสภายุโรปได้สูงสุดไม่เกิน 96 คน
- ความสัมพันธ์ไทย – สหภาพยุโรป
- ภาพรวม • ไทยให้ความสำคัญกับ EU เนื่องจากเป็นมหาอำนาจทางเศรษฐกิจและเป็นตลาดขนาดใหญ่ด้วยจำนวนประชากรประมาณ 500 ล้านคน มีผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศปีละประมาณ 16,000 พันล้านยูโร และเป็นภูมิภาคที่มีอำนาจซื้อสูงที่สุดในโลก EU จึง เป็นยักษ์ใหญ่ในเวทีการค้าโลกที่มีอำนาจต่อรองสูงและมีบทบาทในการกำหนดทิศ ทางการค้าระหว่างประเทศ โดยเป็นผู้นำด้านกฎระเบียบและนโยบายด้านการค้าและที่มิใช่การค้าที่สำคัญของ โลก (Global Standards Setter)
- • สหภาพ ยุโรปให้ความสำคัญต่อไทยว่าเป็นหุ้นส่วนสำคัญของสหภาพยุโรปในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะในมิติการเมืองและความมั่นคง โดยไทยมีบทบาทสำคัญในภูมิภาคเอเชียรวมทั้งในกรอบอื่นๆ เช่น อาเซียน-สหภาพยุโรป (ASEAN-EU) และในกรอบ ARF (ASEAN Regional Forum)
- • ยุทธศาสตร์ไทยต่อ EU คือ การเน้นว่าไทยยึดมั่นในคุณค่าประชาธิปไตยและระบบการค้าเสรี เช่นเดียวกับ EU เพื่อให้ EU มีความเชื่อมั่นในเสถียรภาพและความต่อเนื่องของระบอบ
- การ ปกครองแบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขของไทยและเพื่อให้เห็น ไทยเป็นหุ้นส่วนหลักในภูมิภาค ซึ่งจะช่วยในการขยายการค้า การลงทุนการท่องเที่ยว และการรับเทคโนโลยีและนวัตกรรมจาก EU และเพื่อส่งเสริมขีดความสามารถในการแข่งขันของไทยในระยะยาว
- ด้านเศรษฐกิจ
- การค้า
• ในช่วงปี ค.ศ.2009 – 2011 EU เป็นคู่ค้าอันดับ 4 ของไทย และในปี ค.ศ.2011 EU เป็น คู่ค้าสำคัญอันดับที่ 4 ของไทย (รองจากอาเซียน ญี่ปุ่น และจีน) คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 9.19 ของการค้าต่างประเทศของไทย โดยเป็นแหล่งนำเข้าสินค้าอันดับที่ 4 (รองจากญี่ปุ่น อาเซียน และจีน) และเป็นแหล่งส่งออกสินค้าอันดับที่ 3 (รองจากอาเซียน และจีน) มูลค่าการค้าสองฝ่ายในปี ค.ศ.2011 คิดเป็นมูลค่า USD 42,008.85 ล้าน เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.66 จากปี ค.ศ.2010 โดยไทยได้เปรียบดุลการค้า EU มูลค่า USD 6,304.61 ล้าน • ประเทศสมาชิก EU ที่เป็นคู่ค้าสำคัญของไทย ได้แก่ เยอรมนี สหราชอาณาจักร เนเธอร์แลนด์ ฝรั่งเศส อิตาลี • การส่งออกสินค้าของไทยไป EU ใน ปี ค.ศ.2011 มีทั้งสินค้าที่มีอัตราการขยายตัวและหดตัว (สำหรับสินค้าส่งออกสำคัญ 10 อันดับแรก) โดยมีการขยายตัวมากที่สุดในสินค้าประเภทยางพารา (57.32%) ส่วนสินค้าที่อัตราการส่งออกหดตัว ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ (-12.25%) รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ (-7.54%) และเครื่องนุ่งห่ม (-1.48%) • การนำเข้าสินค้าจาก EU ใน ปี ค.ศ.2011 มีอัตราการขยายตัวเกือบทุกรายการ (สำหรับสินค้านำเข้าสำคัญ 10 อันดับแรก) โดยมีการขยายตัวมากที่สุดในสินค้าประเภทเครื่องบิน เครื่องร่อน อุปกรณ์การบินและส่วนประกอบ (1,005.71) ส่วนสินค้าที่อัตราการนำเข้าหดตัว คือ เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ (-2.18%)
- • ประเด็นด้านเศรษฐกิจ EU มีกฎระเบียบมาตรการทางการค้าและมาตรการด้านสิ่งแวดล้อมที่เข้มงวด มีมาตรฐานสุขอนามัยและสุขอนามัย (SPS) ในระดับสูง ประเด็นด้านเศรษฐกิจระหว่างกันที่สำคัญในปัจจุบัน ได้แก่ มาตรการตรวจเข้มสินค้าผักสดส่งออกจากไทยไป EU มาตรการตอบโต้การทุ่มตลาดของ EU ที่ใช้กับสินค้าไทยบางชนิด กฎระเบียบของ EU ว่าด้วยการต่อต้านการทำประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม (Illegal, Unreported and Unregulated Fishing – IUU) กฎระเบียบสร้างระบบการค้าการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (EU Emission Trading Scheme – EU ETS) สำหรับการขนส่งทางอากาศ การจัดทำความตกลง Voluntary Partnership Agreement ภายใต้กฎระเบียบ FLEGT เพื่อป้องกันปัญหาการค้าไม้ที่ผิดกฎหมาย
- • เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและแจ้งเตือนภัยล่วงหน้าเกี่ยวกับปัญหา/อุปสรรคทางการค้าระหว่างไทยกับ EU กระทรวงการต่างประเทศร่วมกับสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงบรัสเซลส์ คณะผู้แทนไทยประจำสหภาพยุโรป ได้จัดทำเวบไซต์ เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับกฎระเบียบ นโยบายของ EU ในด้านต่างๆ ที่อาจส่งผลกระทบต่อผลประโยชน์ของไทย บทบาทการแจ้งเตือนล่วงหน้า (early warning) มีส่วนช่วยให้ภาครัฐและภาคเอกชนไทยที่เกี่ยวข้องปรับตัวเพื่อรองรับการปฏิบัติตามกฎระเบียบของ EU ซึ่งมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
- การลงทุน
• ในปี ค.ศ.2011 ประเทศสมาชิก EU ได้ รับอนุมัติการส่งเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนของไทยมากเป็น อันดับที่ 4 (รองจากอาเซียน ญี่ปุ่น และจีน) จำนวน 123 โครงการ มูลค่าการลงทุน 16,736 ล้านบาท โดยประเทศสมาชิก EU ที่ ลงทุนในไทยมากสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ เนเธอร์แลนด์ (4,252.4 ล้านบาท) สวีเดน (3,269.4 ล้านบาท) ฝรั่งเศส (3,045.1 ล้านบาท) โครงการลงทุนขนาดใหญ่ของยุโรป (มูลค่าการลงทุน 1,000 ล้านบาทขึ้นไป) อาทิ กิจการผลิตพลาสติกและผลิตภัณฑ์เคลือบพลาสติก ผลิตภัณฑ์ไฟฟ้า ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์
- ผลิตเลนส์
- • การลงทุนและการดำเนินธุรกิจของไทยในประเทศสมาชิก EU โดย ใช้แบรนด์ไทย ประกอบด้วยธุรกิจอาหาร/ เครื่องดื่ม ร้านอาหารไทย ผลิตกระดาษ ธุรกิจแฟชั่น/อัญมณี ธุรกิจโรงแรม การผลิตเหล็ก การค้าปลีก อุตสาหกรรมการเกษตร
- การท่องเที่ยว
• ในปี ค.ศ.2011 มีนักท่องเที่ยวจากยุโรปทั้งหมด (รวมประเทศนอกกลุ่ม EU) เดินทางมาไทยจำนวน 4.9 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 25.91 ของนักท่องเที่ยวต่างชาติทั้งหมด ขยายตัวร้อยละ 11.4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2011 จำนวนมากเป็นอันดับ 2 รองจากนักท่องเที่ยวจากภูมิภาคเอเชียตะวันออกและอาเซียน โดยประเทศสมาชิก EU ที่มีนักท่องเที่ยวเดินทางมาไทยมากที่สุด 3 ประเทศแรก คือ อังกฤษ (8.4 แสนคน) เยอรมนี (6 แสนคน) และฝรั่งเศส (5 แสนคน) ด้านการเมือง • โดยรวม ไทยกับ EU มี ความสัมพันธ์ที่ดีและราบรื่น ในมุมมองของ EU ไทยเป็นประเทศที่มีศักยภาพในด้านเศรษฐกิจ การท่องเที่ยว วัฒนธรรม และมีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยซึ่ง EU ให้ความสำคัญในเรื่องนี้ ไทยจึงเป็นหุ้นส่วนสำคัญของ EU ทั้งในด้านการเมืองและเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ • ไทยกับ EU มี กลไกดำเนินการความสัมพันธ์ในระดับทวิภาคี ได้แก่ การประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสไทย-สหภาพยุโรป ซึ่งได้มีการประชุมครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ 20 – 21 พฤษภาคม ค.ศ.2010 โดยมีการหารือในประเด็นต่างๆ ทั้งในความสัมพันธ์ทวิภาคี ประเด็นระดับภูมิภาคและระหว่างประเทศที่อยู่ในความสนใจร่วมกัน นอกจากนี้ ทั้งสองฝ่ายอยู่ระหว่างการเจรจาจัดทำ กรอบความตกลงว่าด้วยความเป็นหุ้นส่วนและความร่วมมือระหว่างไทยกับประชาคมยุโรปและ รัฐสมาชิก นอกจากนี้ EU ได้ทาบทามไทยให้เจรจาความตกลงเขตการค้าเสรีไทย-สหภาพยุโรป • การเยือนในระดับสูงระหว่างไทย-สหภาพยุโรป ครั้งล่าสุด คือ การเยือนไทยของ Baroness Catherine Ashton ระหว่างวันที่ 30 เมษายน – 1 พฤษภาคม ค.ศ.2012 โดยได้พบหารือกับนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๑ พฤษภาคม ค.ศ.๒๐๑๒ ที่ทำเนียบรัฐบาล ความร่วมมือทางวิชาการไทย – สหภาพยุโรป • ความร่วมมือทางวิชาการในระดับทวิภาคีระหว่างไทย และ EU ดำเนินผ่าน โครงการ Thailand-EC Cooperation Facility (TEC) ซึ่งได้รับการจัดสรรงงบประมาณจากงบความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของ EU สำหรับปี ค.ศ.2007 -2013 ในหมวด Development Cooperation Instrument (DCI) ซึ่ง เน้นเรื่องการให้ความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาแก่ประเทศกำลังพัฒนา ในด้านต่างๆ อาทิ การขจัดความยากจน การส่งเสริมประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน และการพัฒนาอย่างยั่งยืน • โครงการ TEC มีงบประมาณจำนวน 17 ล้านยูโร สำหรับการดำเนินงานระหว่างปี ค.ศ.2007-2013 มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างไทยกับ EU ใน 4 ด้าน คือ 1) การปรับตัวให้ทันพัฒนาการของกฎระเบียบการค้าของ EU 2) วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการศึกษา 3) สิ่งแวดล้อม 4) ธรรมาภิบาล การโยกย้ายถิ่นฐาน และสิทธิมนุษยชน • รูปแบบความร่วมมือในโครงการ TEC 2 แบบ คือ 1) Call for Proposal โดย EU ออกประกาศหัวข้อวิจัยให้หน่วยงานราชการและองค์กรที่ไม่แสวงผลกำไรของไทย เช่น สถาบันการศึกษา ยื่นข้อเสนอโครงการ และ 2) Policy Dialogue โดย EU สนับ สนุนข้อเสนอโครงการตามความประสงค์ของหน่วยงานราชการของไทยที่เกี่ยวข้องกับ 4 สาขาความร่วมมือข้างต้น อาทิ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงพานิชย์ กระทรวงพลังงาน สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เป็นต้น • ทิศทางความร่วมมือในอนาคต ภายใต้แผนงบประมาณด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของ EU ฉบับใหม่สำหรับปี ค.ศ.2014 – 2020 ไทยจะพ้นสถานะจากประเทศที่ได้รับความช่วยเหลือผ่านหมวด Development Cooperation Instrument (DCI) (มีงบประมาณทั้งหมด 23,295 ล้านยูโร)
- สู่หมวด Partnership Instrument (PI) (มีงบประมาณทั้งหมด 1,131 ล้านยูโร) เช่นเดียวกับประเทศในกลุ่ม Upper Middle Income Countries อีก 16 ประเทศ (อาทิ จีน บราซิล มาเลเซีย) และกลุ่ม Lower Middle Income ที่มี GDP มากกว่าร้อยละ 1 ของ GDP ของโลก (อาทิ อินโดนีเซีย อินเดีย)
- • หมวด PI จะเน้นความร่วมมือในลักษณะความเป็นหุ้นส่วน (partnership) กับ EU ในประเด็นที่ EU ให้ความสำคัญ อาทิ การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ ประชาธิปไตย และสิทธิมนุษยชน
- ต่างจากหมวด DCI ซึ่งมีจุดประสงค์เพื่อการพัฒนาและขจัดความยากจนในประเทศผู้รับความช่วยเหลือ บนพื้นฐานความสัมพันธ์ระหว่างผู้ให้และผู้รับ (donor-recipient relationship) ทั้งนี้
- ยังไม่เแน่ชัดว่า ภายใต้รูปแบบความร่วมมือรูปแบบใหม่ ไทยจะได้รับการจัดสรรงบประมาณ
- ความร่วมมือจำนวนเท่าใด และรูปแบบความร่วมมือจะเป็นไปในลักษณะใด
- • ความร่วมมือในนอกเหนือจากกรอบทวิภาคี นอกจากความร่วมมือระดับทวิภาคี ไทยมีช่องทางความร่วมมือกับ EU ในกรอบความร่วมมือระดับภูมิภาค (regional programme)และระดับระหว่างประเทศ (thematic programme)
- ความตกลงระหว่างไทย – สหภาพยุโรปที่อยู่ในระหว่างการพิจารณา
• การเจรจาจัดทำกรอบความตกลงว่าด้วยความเป็นหุ้นส่วนและความร่วมมือไทย – ประชาคมยุโรปและประเทศสมาชิกสหภาพยุโรป (Framework Agreement on Comprehensive Partnership and Cooperation between Thailand and the European Community and its Member States – PCA) เป็น ความตกลงที่มีเนื้อหาครอบคลุมทุกมิติของความสัมพันธ์ อาทิ การเมือง เศรษฐกิจ สังคม การค้าการลงทุน การศึกษาและวัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พลังงาน การต่อต้านยาเสพติด และการต่อต้านการฟอกเงิน เป็นต้น โดยได้มีการเจรจารอบล่าสุด (รอบที่ 8) เมื่อวันที่ 27 มีนาคม ค.ศ.2009 ณ กรุงเทพฯ อย่างไรก็ตาม ยังไม่ได้มีการลงนามความตกลงดังกล่าวเนื่องจากเหลือประเด็นติดค้างบาง ประเด็น โดยหลังจากการเจรจารอบที่ 8 ทั้งสองฝ่ายได้มีการหารืออย่างไม่เป็นทางการอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้บรรลุข้อ ตกลงและนำไปสู่การลงนามความตกลงได้ในอนาคต • การจัดทำความตกลงเขตการค้าเสรีไทย-สหภาพยุโรป (Thailand – EU Free Trade Area Agreement – FTA) เมื่อปี ค.ศ.2007 EU ได้ เริ่มเจรจาจัดทำความตกลงเขตการค้าเสรีกับอาเซียน และเมื่อปี ค.ศ.2009 ทั้งสองฝ่ายได้ประกาศหยุดพักการเจรจาเนื่องจากการเจรจาที่ผ่านมาไม่มีความ ก้าวหน้า EU จึงหันมาปรับแนวทางการเจรจาความตกลง FTA เป็น ระดับทวิภาคีกับประเทศสมาชิกอาเซียนที่มีความพร้อม เช่น สิงคโปร์ เวียดนาม มาเลเซีย และไทย สำหรับไทยนั้น กระทรวงพาณิชย์ในฐานะหน่วยงานหลักของฝ่ายไทยอยู่ระหว่างดำเนินการตามขั้นตอน ภายในตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 โดยจะต้องขอความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีและรัฐสภาก่อนที่จะเริ่มการเจรจา FTA กับ EU
สหภาพยุโรป เป็นการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในรูปแบบใด
ภูมิหลัง / แนวคิดการจัดตั้ง สหภาพยุโรปเป็นการรวมกลุ่มของประเทศในภูมิภาคยุโรปทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมในลักษณะสถาบันแบบเหนือรัฐ (Supranational Institution) ที่ใหญ่ที่สุดและก้าวหน้าที่สุดในโลก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างสันติภาพเป็นการถาวรระหว่างประเทศในภูมิภาคยุโรปภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 รวมไปถึงการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจแก่ประเทศสมาชิกและการมีบทบาทนำของ EU ในประชาคมโลก กระบวนการถ่ายโอนอำนาจการบริหารจากประเทศสมาชิกไปสู่การเป็นองค์การเหนือรัฐของสหภาพยุโรปมีขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป การรวมกลุ่มอย่างเป็นรูปธรรมเกิดขึ้นครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ.1950 ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยประเทศยุโรปตะวันตก 6 ประเทศ ได้ร่วมกันจัดตั้งประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้ายุโรป (European Coal and Steel Community – ECSC) ขึ้น ซึ่งแม้เป้าหมายสูงสุดของการรวมกลุ่มจะมีขึ้นเพื่อผลประโยชน์ทางด้านการเมืองในการควบคุมการผลิตวัตถุดิบที่อาจนำไปสู่การฟื้นตัวของอุตสาหกรรมสงคราม และเลือกใช้วิธีการแลกเปลี่ยนข้อมูลในการผลิตเป็นตัวนำเพื่อคลายความระแวงสงสัยระหว่างกันก็ตาม การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจดังกล่าวได้ประสบผลสำเร็จเป็นอย่างดี ทำให้ต่อมาในปี ค.ศ.1957 ได้ขยายการรวมกลุ่มครอบคลุมภาคเศรษฐกิจอื่น ๆ โดยประเทศสมาชิกได้ลงนามในสนธิสัญญากรุงโรม (Treaty of Rome) เพื่อจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (European Economic Community – EEC) เพื่อให้เป็นทั้งสหภาพศุลกากร (Customs Union) และตลาดร่วม (Common Market) ถือเป็นกระบวนการรวมกลุ่มด้านเศรษฐกิจที่ประสบความสำเร็จเป็นอย่างมาก ในปี ค.ศ.1990 ในช่วงหลังสงครามเย็น ฝรั่งเศสและเยอรมนีเสนอให้มีการจัดตั้งสหภาพการเมืองของยุโรปเพื่อให้มีการกำหนดนโยบายด้านการต่างประเทศและความมั่นคงร่วมกัน ซึ่งท้ายที่สุด นำไปสู่การลงนามในสนธิสัญญามาสทริชท์ (Treaty of Maastricht) เพื่อจัดตั้งสหภาพยุโรป (European Union – EU) ขึ้นในปี ค.ศ.1992 รวมไปถึงการใช้เงินสกุลยูโรร่วมกันด้วย ต่อมา ในปี ค.ศ.2007 ประเทศสมาชิก EU ตระหนักถึงความจำเป็นในการปรับปรุงโครงสร้างเพื่อตอบสนองกระบวนการบูรณาการภายใน EU ที่ก้าวหน้าขึ้นและบทบาทที่เพิ่มมากขึ้นของ EU ในประชาคมโลก จึงได้ร่วมลงนามในสนธิสัญญาลิสบอน (Lisbon Treaty) โดยประเทศสมาชิกให้ความเห็นชอบในการสละอำนาจอธิปไตยบางส่วนให้แก่ความร่วมมือเหนือชาติ (supranational cooperation) ในเรื่อง (1) สหภาพศุลกากร (customs union) (2) การออกกฎระเบียบด้านการแข่งขัน (competition rules) (3) นโยบายด้านการเงิน (monetary policy) สำหรับรัฐสมาชิก EU ที่ใช้สกุลเงินยูโร (4) การอนุรักษ์ทรัพยากรชีวภาพทางทะเล (marine biological resources) ภายใต้นโยบายร่วมด้านประมง และ (5) นโยบายการค้าร่วม (common commercial policy) ทั้งนี้ สนธิสัญญาลิสบอนมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ปี ค.ศ.2009 ปัจจุบัน EU มีรัฐสมาชิกจำนวน 27 ประเทศ (โครเอเชียเข้าเป็นสมาชิกล่าสุด เมื่อวันที่ 1 ก.ค.2556 และสหราชอาณาจักรออกจากการเป็นสมาชิก EU เมื่อวันที่ 31 ม.ค.2563) มีระบบตลาดร่วม ระบบภาษีศุลกากรร่วม การใช้เงินสกุลยูโรร่วมกันใน 19 ประเทศสมาชิก (ได้แก่ ออสเตรีย เบลเยียม ไซปรัส เอสโตเนีย ฟินแลนด์ ฝรั่งเศส เยอรมนี กรีซ ไอร์แลนด์ อิตาลี ลัตเวีย ลิทัวเนีย ลักเซมเบิร์ก มอลตา เนเธอร์แลนด์ โปรตุเกส สโลวาเกีย สโลวีเนีย และสเปน) และมีศูนย์กลางการบริหารอยู่ที่กรุงบรัสเซลส์ ราชอาณาจักรเบลเยียม โครงสร้าง / สถาบันหลัก / กลไกการดำเนินงานและตัดสินใจ โครงสร้างการทำงานของ EU ประกอบด้วย 4 สถาบันหลัก คือ คณะกรรมาธิการยุโรป (European Commission) คณะมนตรียุโรป (European Council) คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป (Council of the European Union) และสภายุโรป (European Parliament) ซึ่งมีอำนาจและความสำคัญต่อการดำเนินงานของ EU ดังนี้ 1.
คณะกรรมาธิการยุโรป (European Commission) ประกอบด้วยคณะผู้บริหารสูงสุดเรียกว่า College of Commissioners จำนวน 27 คน และข้าราชการประจำจำนวนประมาณ 25,000 คน คณะผู้บริหารฯ ประกอบด้วยประธานคณะกรรมาธิการ 1 คน และกรรมาธิการอีก 27 คน (ตามจำนวนรัฐสมาชิก 27 ประเทศ ) มีวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปี และได้รับการแต่งตั้งโดยคณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป โดยความเห็นชอบของสภายุโรป (ซึ่งมีอำนาจลงมติไม่รับรองคณะผู้บริหารคณะกรรมาธิการยุโรปทั้งคณะ แต่ไม่มีอำนาจที่จะเลือกไม่รับรองกรรมาธิการเป็นรายบุคคล) คณะกรรมาธิการยุโรปเป็นสถาบันหลักในด้านการบริหารของ EU ตั้งอยู่ ณ กรุงบรัสเซลส์ ราชอาณาจักรเบลเยียม มีหน้าที่ในการเสนอร่างกฎระเบียบของ EU ซึ่งจะต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรปและสภายุโรป (ในกรณีทั่วไปโดยส่วนใหญ่) ก่อนที่รัฐสมาชิก EU และ/หรือสถาบันของ EU ที่เกี่ยวข้องจะนำไปปฏิบัติ นอกจากนี้คณะกรรมาธิการยุโรปมีบทบาทสำคัญในการปกป้องผลประโยชน์ร่วมของ EU และทำหน้าที่กำกับดูแลการปฏิบัติตามกฎระเบียบของ EU (Guardian of the Treaties) ของรัฐสมาชิก หากตรวจพบการละเมิดกฎระเบียบของ EU คณะกรรมาธิการยุโรปมีอำนาจที่จะฟ้องร้องต่อศาลยุติธรรมแห่งสหภาพยุโรป (Court of Justice of the European Union) ปัจจุบัน นางอัวร์ซูลา ฟ็อน แดร์ ไลเอิน (Ursula von der Leyen) สัญชาติเยอรมัน อดีตรัฐมนตรีกลาโหมเยอรมนี ดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมาธิการยุโรปตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 2562 2.
คณะมนตรียุโรป (European Council) เป็นเวทีการประชุมของประมุขแห่งรัฐ/ผู้นำรัฐบาลของประเทศสมาชิก EU โดยมีการประชุมคณะมนตรียุโรปอย่างเป็นทางการปีละ 4 ครั้ง (และประธานคณะกรรมาธิการยุโรปเข้าร่วมการประชุมด้วยทุกครั้ง) โดยผู้นำ EU จะร่วมกันตัดสินใจในประเด็นด้านนโยบายที่สำคัญต่อ EU และแม้ว่าผลการประชุมของคณะมนตรียุโรปจะไม่มีผลบังคับทางกฎหมาย แต่ก็มีส่วนสำคัญอย่างมากในการกำหนดทิศทางและนโยบาย ทั้งกิจการภายใน EU และนโยบายต่างประเทศของ EU และเป็นกรอบปฏิบัติให้กับสถาบันอื่นๆ ของ EU สนธิสัญญาลิสบอนได้ให้สถานะทางกฎหมายแก่คณะมนตรียุโรปและมีการสร้างตำแหน่งใหม่ คือ ประธานคณะมนตรียุโรป (President of the European Council) ซึ่งปัจจุบันนายชาร์ล มีแชล (Charles Michel) สัญชาติเบลเยียม อดีต นรม.
เบลเยียม ดำรงตำแหน่งดังกล่าว ตั้งแต่วันที่ 1 ธ.ค.2562 ทำหน้าที่ประธานในการประชุมคณะมนตรียุโรปและมีอำนาจหน้าที่เป็นผู้แทน EU หลักด้านการต่างประเทศ 3. สภายุโรป (European Parliament) สมาชิกสภายุโรปอยู่ในวาระครั้งละ 5 ปี มาจากการเลือกตั้งโดยตรงในรัฐสมาชิก EU เดิมมีบทบาทด้านนิติบัญญัติจำกัดและไม่มีอำนาจหน้าที่ในการเสนอร่างกฎระเบียบของ EU อย่างไรก็ดี สนธิสัญญาลิสบอนได้เพิ่มอำนาจให้กับสภายุโรปในการพิจารณารับรองร่างกฎระเบียบของ EU เพิ่มขึ้นกว่า 50 สาขา ภายใต้ ‘co-decision procedure’ ทำให้สภายุโรปมีบทบาทเท่าเทียมกับคณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรปในการพิจารณารับรองกฎระเบียบของ EU ซึ่งครอบคลุมถึงความตกลงระหว่าง EU กับประเทศที่สาม อาทิ ความตกลงเขตการค้าเสรี และกรอบความตกลงว่าด้วยความเป็นหุ้นส่วนและความร่วมมือรอบด้าน (Partnership and Cooperation Agreement – PCA) ซึ่งไทยอยู่ระหว่างการเจรจากับ EU ด้วย ปัจจุบัน นายดาวิด มารีอา ซัสโซลี (David Maria Sassoli) สัญชาติอิตาลี จากพรรค Progressive Alliance of Socialists and Democrats แนวคิดสังคมประชาธิปไตย (S&D) ดำรงตำแหน่งประธานสภายุโรป นอกจากนี้ สมาชิกสภายุโรปมีการรวมตัวเป็นกลุ่มที่ดูแลความสัมพันธ์กับกลุ่มประเทศต่างๆ โดยในส่วนของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอาเซียน มีนาย Daniel Caspary สัญชาติเยอรมัน สมาชิกสภายุโรป พรรค EPP/Christian Democrats เป็นประธาน 4.
คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป (The Council of the European Union) เป็นองค์กรตัดสินใจหลักของ EU โดยทำหน้าที่เป็นตัวแทนของรัฐสมาชิก EU ทั้งหมด (ส่วนใหญ่เป็นรัฐมนตรีกระทรวงต่าง ๆ ตามสาขาของนโยบายที่หารือ) จึงเป็นที่มาของคำเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า “Council of Ministers” และมีหน้าที่พิจารณาร่างกฎระเบียบของ EU และอนุมัติงบประมาณ (ร่วมกับสภายุโรป) และเป็นเวทีสำคัญในการประสานงานด้านนโยบายเศรษฐกิจ นโยบายร่วมด้านการต่างประเทศและความมั่นคง (CFSP) ตลอดจนกำกับดูแลการทำงานของคณะกรรมาธิการยุโรป และประสานงานเรื่องอื่นๆ ระหว่างประเทศสมาชิก EU ทั้งนี้ ประเทศสมาชิกจะผลัดกันทำหน้าที่เป็นประธานคณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป วาระ 6 เดือน ปัจจุบัน สโลวีเนียทำหน้าที่ดังกล่าว (ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม-31 ธันวาคม 2564) โดยจะทำหน้าที่ประธานในการประชุมระดับรัฐมนตรีของประเทศสมาชิก EU ในสาขาต่างๆ ยกเว้นในด้านการต่างประเทศ ซึ่งสนธิสัญญาลิสบอนกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของผู้แทนระดับสูงของ EU ด้านการต่างประเทศและนโยบายความมั่นคง นอกจากนี้ สนธิสัญญาลิสบอนได้กำหนดให้มีตำแหน่ง ผู้แทนระดับสูงของสหภาพยุโรปด้านการต่างประเทศและนโยบายความมั่นคง (EU High Representative for Foreign Affairs and Security Policy) (เทียบเท่า รมว.กต.) เพิ่มเติมด้วย โดยได้รับการแต่งตั้งโดยคณะมนตรียุโรป มีหน้าที่ดูแลเรื่องนโยบายต่างประเทศและความมั่นคงที่มาจากการตัดสินใจร่วมกันของประเทศสมาชิก และเป็นประธานในการประชุม รมว.กต.
ใส่รองเท้าหลวม เป็นไรไหม
3 วิธีแก้ปัญหา รองเท้าหลวม.พรีออเดอร์มาผิดไซส์ก็ไม่ต้องกังวล เจอรองเท้าที่ถูกใจทั้งทีก็ขอพรีออเดอร์กันหน่อยดีกว่า แต่ปรากฏว่ารองเท้าที่ได้มากลับไม่พอดีกับไซส์เท้าของตัวเองเพราะหลวมเกินไป ใส่แล้วรู้สึกเหมือนรองเท้าจะหลุดอยู่ตลอดเวลา จะทิ้งรองเท้าคู่นี้ก็เสียดายเพราะเสียตังค์พรีออเดอร์มาแล้ว แถมจะหาคู่ให้เหมือนแบบนี้ก็ไม่มีอีก แบบนี้คงถึงเวลาที่ต้องมาแก้ปัญหาเรื่อง รองเท้าหลวม ใส่ไม่พอดีเท้ากันแล้วล่ะค่ะ การใส่รองเท้าที่หลวมไปก็อาจเป็นสาเหตุให้เกิดอาการรองเท้ากัดได้เหมือนกันนะคะ เพราะรองเท้าหลวมมักจะขยับเวลาเราใส่เดินไปมา ทำให้เกิดการเสียดสีกับเท้าได้ เมื่อใส่ไปนานๆ ก็จะยิ่งทรมานเพราะเท้าคืออวัยวะสำคัญที่มีการใช้งานทุกวัน ถ้าเท้าพังขึ้นมาหรือเกิดเป็นแผลก็จะทำให้ใส่รองเท้าสวยๆ ไม่ได้ค่ะ วันนี้เราจะมาบอกวิธีแก้ปัญหา รองเท้าหลวม ให้สาวๆ กลับมาใส่รองเท้าคู่สวยได้เหมือนเดิม แถมสบายเท้า ไม่ต้องทนรำคาญอีกต่อไปค่ะ
4uk คือไซส์อะไร
4 UK = 37 EU = 6 US = 23 ซม. = 9.3 นิ้ว 4.5 UK = 37.5 EU = 6.5 US = 23.5 ซม. = 9.4 นิ้ว 5 UK = 38 EU = 7 US = 24 ซม. = 9.6 นิ้ว 5.5 UK = 39 EU = 7.5 US = 24.5 ซม. = 9.9 นิ้ว
26.5 cm เท่ากับไซส์อะไร
วิธีวัดขนาดเท้าเพื่อหา size รองเท้าด้วยตัวคุณเอง Posted by: administrator Comments: 0 Post Date: มีนาคม 28, 2015
หลายท่านมีปัญหาในการเลือกซื้อรองเท้า จากการสั่ง Online หรือฝากคนอื่นซื้อ ไม่แน่ใจว่าจะใส่ Size อะไร จะคับไป หลวมไป ไหม ซึ่ง size เดียวกันแต่ละ Brand ก็ไม่จำเป็นว่าท่านจะใส่ได้พอดีเหมือนกัน ดังนั้นท่านควรมีขนาดเท้าจริงของคุณ ทั้งความยาวและความกว้าง เพื่อใช้ในการเลือกรองเท้าให้พอดีกับเท้าของคุณ Website ที่ซื้อก็จะมีขนาดของเท้าจริงเพื่อเลือกเบอร์รองเท้าที่พอดีกับ Brand นั้นๆ อีกทั้งเลือกรองเท้าที่หน้า กว้าง แคบ ตามลักษณะเท้าคุณอีกด้วย เกร็ดความรู้ ความพอดีของรองเท้าคืออะไรส้นเท้าต้องพอดี ไม่มีลื่นหลุดออกเด็ดขาด ส่วนกลางเท้า ต้องพอดีแต่ไม่บีบแน่นไป ส่วนปลายนิ้วต้องมีที่ให้กระดิกนิ้วได้คนส่วนใหญ่มักซื้อรองเท้าคับเกินไปมากกว่าหลวมเกินไป ถ้าคุณใส่รองเท้าที่คับเกินไป คุณจะปวดเท้าหลังวิ่ง หรือเกิด ตุ่มพองในการวิ่งเท้าของเราจะมีขนาดเพิ่มขึ้นเล็กน้อยตามอายุ ดังนั้นควรวัดทุกปีถ้าวัดแล้วอยู่ระหว่างกึ่งกลาง ให้เลือก size ใหญ่กว่า แล้วหา ถุงเท้าหรือ Insole ช่วยให้รองเท้ากระชับควรวัด Size ในตอนที่เท้าคุณใหญ่ที่สุด ก็คือช่วงเย็นนั่นเอง วิธีวัดเท้าง่ายๆมีดังนี้ อุปกรณ์ กระดาษ A4ปากากา/ดินสอดินสอแท่งไม่อ้วนเกินไปไม้บรรทัด1 นั่งเก้าอี้ วางเท้าของคุณให้ตั้งฉากเหมือนยืนปกติ จะใช้เท้าเปล่า หรือใส่ถุงเท้าที่จะใส่ประจำวิ่งก็ดี2 ลากเส้นตามเท้าของคุณ ข้อควรระวัง ปากกาต้องทำมุมตั้งฉากการลากตลอด ไม่เอียง เพราะจะทำให้ได้ขนาดที่คลาดเคลื่อนได้3 วัดระยะที่วาดได้ จากนิ้วที่ยาวที่สุด (บางคนป็นนิ้วหัวแม่โป้ง บางคนเป็นนิ้วชี้เท้า) ไปถึงส้นเท้าตามรูปและวัดส่วนที่กว้างสุดของเท้า ได้ระยะความยาว และความกว้างเท้าหน่วยที่ใช้วัดเป็นถึงหลักมิลลิเมตรไปเลยนะครับ4 เสร็จแล้วก็จดไว้กันลืมนะครับ5 เข้าไปดู Size chart ของรองเท้าแต่ละ Brand ว่าขนาดเท้าจริงของคุณ ขนาดนี้ ต้องใส่ Size ไหน
เช่น ผู้ชาย วัดขนาดเท้า ได้ 26.5 cm ก็ควรใส่รองเท้า 8.5 ถ้าวัดได้ 26.8 ก็น่าจะเลือกที่ใหญ่ขึ้นเป็น 9 เป็นต้นครับ คราวนี้ ก็เลือกรองเท้าแบบไม่ต้องลองได้ง่ายขึ้นแล้วนะครับ
รองเท้า20.5 ไซส์อะไร
20.0- 20.5 ซม. = ไซส์ 33.20.5- 21.0 ซม. = ไซส์ 34.21.0- 21.5 ซม. = ไซส์ 35.21.5-22.0 ซม. = ไซส์ 36.