อาหาร จํา พวก แป้ง มี อะไร บ้าง
อาหารประเภทแป้ง อาหารพวกแป้งมีอะไรบ้าง – เมื่อพูดถึงการลดน้ำหนัก คงไม่พูดถึง ” คาร์โบไฮเดรต” อาหารประเภทแป้ง หมู่อาหารเจ้าปัญหาไม่ได้ สูตรลดน้ำหนัก บางสูตรบอกให้งด บางสูตรบอกให้กิน อะไรกินได้หรือไม่ได้ หลายคนจำไม่ได้ เยอะจนงง ซับซ้อนพอ ๆ กับถอดสมการ 8 ชั้น แต่เราจะขออธิบายให้คุณเข้าใจง่าย ๆ ดังต่อไปนี้ อาหาร จํา พวก แป้ง มี อะไร บ้าง อาหาร จำพวก แป้ง อาหาร ประเภท แป้ง

คาร์โบไฮเดรต ได้จากอาหารประเภท ข้าว, แป้ง, น้ำตาล, ขนมปัง, ธัญพืช, เส้นก๋วยเตี๋ยว, กากใยในผักผลไม้ ฯลฯ แม้แต่เปลือกไม้และกระดาษก็ถือเป็นคาร์โบไฮเดรตประเภทหนึ่ง คาร์โบไฮเดรต เป็นแหล่งพลังงานหลักของร่างกาย คาร์โบไฮเดรต 1 กรัม ให้พลังงาน 4 แคลอรี่ คาร์โบไฮเดรตที่กินเข้าไป แล้วใช้ไม่หมด จะถูกกักเก็บไว้ในรูปไขมัน ตามเหนียง แขน ขา หน้า ฯลฯ

อาหาร จํา พวก แป้ง มี อะไร บ้าง

น้ำตาลเชิงเดี่ยว (simple carbohydrate) จากผลไม้, น้ำหวาน, น้ำผึ้ง, น้ำตาลในเค้ก, ไอติม, ข้าวขาว, ขนมปังขาว ฯลฯ เป็นคาร์โบไฮเดรตที่ย่อยง่าย ใช้พลังงานในการย่อยน้อย ให้พลังงานเร็ว ถ้าเกิดอาการซึม อยากตื่นตัว ต้องใช้พลังงานฉับพลัน ให้ดื่มเฮลล์บลูบอยสักแก้ว แต่ถ้ากินมากไปอาจทำให้ไฮเปอร์ ยิ่งไม่ออกกำลัง ก็อาจทำให้พุงบังขา หน้าบาน เหนียงดันคาง คางดันแก้มจนดั้งจม ตาปิด คนทักผิดเป็นพะยูนได้

อาหาร จํา พวก แป้ง มี อะไร บ้าง อาหาร จำพวก แป้ง อาหาร ประเภท แป้ง

น้ำตาลเชิงซ้อน (complex carbohydrate) จากธัญพืช, ข้าวโอ๊ต, ข้าวกล้อง, โฮลวีต, โฮลเกรน, กากใยผักผลไม้ (ไฟเบอร์) ฯลฯ เป็นคาร์โบไฮเดรตที่ย่อยยาก ใช้พลังงานในการย่อยมาก ให้พลังงานช้า กินน้อย อิ่มนาน กากใยมาก ทำให้ขับถ่ายสะดวก

อาหาร จํา พวก แป้ง มี อะไร บ้าง เมื่อต้อง การลดน้ำหนัก ควรลดสัดส่วนการกินคาร์โบไฮเดรตเชิงเดี่ยวลง และเน้นคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อนในมื้อเช้าและกลางวัน เพราะจะทำให้อยู่ท้อง ไม่หิวบ่อย คาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อนยังช่วยลดการดูดซึมน้ำตาล เป็นการลดความอ้วนไปในตัว แต่ควรงดหรือกินคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อนน้อยลงในมื้อเย็น เพราะต้องใช้เวลาย่อยนาน ซึ่งจะทำให้นอนหลับไม่สนิท และพลอยจะทำให้อ่อนเพลียเปล่า ๆ เพราะฉะนั้นหากเรามีปรับเปลี่ยนวิธีการบริโภคอาหารตามที่แนะนำไปเบื้องต้น เช่น กินแป้ง ลดพุง อย่างถูกวิธี นอกจากหุ่นดีที่เราจะได้แล้ว ของแถมที่จะได้เพิ่มเติมก็คือสุขภาพดีและร่างกายที่แข็งแรงในระยะยาว รับรองว่าคุ้มแน่นอนค่ะ Additional Source: Which carbs are good for losing weight and burning belly fat บทความลดน้ำหนักอื่น ๆ ที่น่าสนใจ 7 พฤติกรรมทำให้อ้วนไม่รู้ตัว นับแคลอรี่กันบ้างรึเปล่า วิธีลดน้ำหนักหลังคลอด 5-2-1 สูตรลับเพื่อสุขภาพดีของเจ้าตัวน้อย ไม่ต้องกลัว โรคอ้วนในเด็ก เมนูคุมน้ำหนัก: ไก่ต้มถั่วลันเตาบด มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Contents

แป้งได้อะไรบ้าง

แป้ง แต่ละชนิดให้คุณสมบัติที่แตกต่างกัน การเลือก แป้ง มาใช้ในการท าผลิตภัณฑ์อาหารต่าง ๆ ควรเลือกให้เหมาะสม ต่อคุณสมบัติที่ต้องการ เพื่อท าให้ผลิตภัณฑ์นั้นมีคุณลักษณะที่ ดี ประโยชน์ของ แป้ง ในผลิตภัณฑ์อาหาร ได้แก่ เป็นสารเพิ่ม ความหนืด (thickening agent) เป็นสารทดแทนไขมัน (fat replacer) เป็นสารช่วยรักษาความชื้นของผลิตภัณฑ์

งดแป้งมีอะไรบ้าง

คำแนะนำจากโค้ชเค (Take Home Message) – เพื่อนๆจะเห็นว่า ก้าวแรกในการลดคาร์โบไฮเดรตเพื่อลดไขมัน คือ เราควรเลี่ยงอาหารแปรรูป และเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลสูงๆให้ได้มากที่สุด ต่อมา เราก็ควรเริ่มกินอาหารที่เป็นธรรมชาติมากขึ้น เพื่อให้ร่างกายได้รับสารอาหารที่เพียงพอ โดยเฉพาะโปรตีน เส้นใยอาหาร คาร์บเชิงซ้อน และไขมันดี เช่น ปลาทะเล ผลิตภัณฑ์นม ถั่วต่างๆ เมล็ดธัญพืช ผลไม้ และผักทุกชนิด โดยเฉพาะผักพร่องแป้ง เช่น เห็ด มะเขือเทศ แครอท หน่อไม้ฝรั่ง และบร็อคโคลี เป็นต้นครับ เพราะอาหารเหล่านี้ เราจะกินได้ในปริมาณเยอะๆจนรู้สึกอิ่มโดยไม่ต้องกลัวอ้วน แถมร่างกายเรายังย่อย และดูดซึมได้ดีอีกด้วยครับ ตอนนี้เพื่อนๆกินคาร์บวันละกี่กรัม และได้ผลยังไงบ้างครับ? อาหาร จํา พวก แป้ง มี อะไร บ้าง ถ้าเพื่อนๆยังมีคำถาม หรือคำแนะนำดีๆ คอมเมนต์หรือว่ามาแชร์ประสบการณ์ได้เลยที่ด้านล่าง และถ้าตอนนี้เพื่อนๆไม่อยากเสียเวลาไปกับการลดไขมัน และการออกกำลังกายที่ผิดวิธี และอยากจะมีหุ่นในฝันให้ตัวเองภูมิใจ ภายใน 3-6 เดือนนี้ แอดไลน์มาตาม Link ด้านล่าง มาสอบถาม และพูดคุยกันก่อน และถ้าเคมีเราตรงกัน ผมก็มีคอร์สออนไลน์ที่ออกแบบมาสำหรับเพื่อนๆโดยเฉพาะ สำหรับวันนี้ผมโค้ชเค ขอตัวก่อนนะครับ ไว้เรามาพบกันใหม่ใน Episode หน้า สวัสดีครับ | Follow Us | ช่องทางการอัพเดทข้อมูลข่าวสาร | YouTube | Instagram | Facebook | LINE@

แป้งพบในอาหารชนิดใด

อาหารประเภทแป้ง เป็นอาหารที่จัดอยู่ในกลุ่มคาร์โบไฮเดรต เช่น ถั่ว ข้าว มันฝรั่ง ข้าวโพด ขนมปัง ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานสำคัญของร่างกาย อย่างไรก็ตาม หากรับประทานในปริมาณอาหารประเภทแป้งในปริมาณที่มากเกินไปก็อาจเป็นอันตรายต่อร่างกายได้ ดังนั้น จึงควรรับประทานอาหารประเภทแป้งชนิดที่ดี ในปริมาณที่เหมาะสม ตามคำแนะนำของคณะกรรมการ

ในแป้งมีอะไรบ้าง

แป้ง คือผงละเอียดที่มี สตาร์ช (starch) เป็นส่วนประกอบหลัก ได้จากการนำส่วนต่างๆ ของพืช เช่น เมล็ด ราก หัว มาบด และยังมีส่วนประกอบอื่น เช่น โปรตีน (protein) ลิพิด (lipid) รวมอยู่ด้วย หากมีกระบวนการสกัด โปรตีนและ ลิพิดออก เหลือแต่ส่วนที่เป็นคาร์โบไฮเดรต มักเรียกว่า starch.

ข้าว แป้ง น้ําตาล ให้สารอาหารประเภทใด

หมู่ที่ 2 อาหารประเภท ข้าว แป้ง น้ำตาล เผือก มัน ข้าวโพด และผลิตภัณฑ์จากแป้งและน้ำตาล อาหาร เหล่านี้เป็นแหล่งของสารอาหาร คาร์โบไฮเดรต ซึ่งเป็นสารอาหารที่ให้พลังงานและความร้อนแก่ร่างกายที่ร่างกายนำ ไปใช้เป็นอันดับแรก ทำให้ร่างกายมีพลังงานใช้ในการทำกิจกรรมต่างๆ ได้ดี

แป้งข้าวเจ้ามีประโยชน์อะไรบ้าง

อาหาร จํา พวก แป้ง มี อะไร บ้าง คุณสมปอง สังชู ชาวนาหมู่ 7 ต.นาพละ อ.เมือง จ.ตรัง ได้ให้ข้อมูลกับเจ้าหน้าที่ร่วมด้วยช่วยกันสำนึกรักบ้านเกิดจังหวัดนครศรีธรรมราชเกี่ยวกับการใช้ข้าว บรรเทาอาการคันไว้ดังนี้ อาหาร จํา พวก แป้ง มี อะไร บ้าง แป้งข้าวเจ้า สามารถทำประโยชน์ได้หลายอย่าง สามารถนำมาทำขนมไทยได้หลายชนิด อีกทั้งแป้งข้าวเจ้ายังมีฤทธิ์เย็น เพียงนำแป้งข้าวเจ้ามาละลายน้ำสะอาดเล็กน้อย แล้วทาบริเวณที่เป็นผดผื่นคัน หรือบริเวณแผลพุพอง โดยใช้น้ำจากแป้งข้าวเจ้าทาบริเวณดังกล่าววันละ 2 ครั้ง เช้า/เย็น ทาติดต่อกัน 3 วัน อาการคันและแสบร้อนจะหายไป อาหาร จํา พวก แป้ง มี อะไร บ้าง เรียบเรียงโดย : มานะชัย ขุนทองจันทร์ เจ้าหน้าที่ร่วมด้วยช่วยกันสำนึกรักบ้านเกิด จ.นครศรีธรรมราช

งดแป้ง ต้องงดอะไรบ้าง

อาหารที่ต้องห้ามในสูตรลดน้ำหนักแบบ Low Carb – เราควรเน้นอาหารที่เป็นพืชผักใบเขียว งดพวกมันฝรั่งเพราะให้พลังงานสูง ส่วนผลไม้ให้เลี่ยงผลไม้ที่มีรสหวานหรือน้ำตาลสูง เช่น มะม่วงสุก กล้วย อาหารจำพวกเส้นบะหมี่ก็ควรหลีกเลี่ยงนะคะ ส่วนเครื่องดื่ม ถ้า Low Carb คือ การงดน้ำตาล เครื่องดื่มจำพวก เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ควรงดเลยค่ะ งดน้ำหวานต่าง ๆ ดีที่สุดคือน้ำเปล่า ถ้าเป็นชา กาแฟ ก็งดเติมนมและน้ำตาลนะคะ

ลดแป้งดีอย่างไร

หลักการของการงดกินแป้งหรือวิธีโลว์คาร์โบไฮเดรต จึง สามารถควบคุมระดับอินซูลินให้ทำงานคงที่ปกติ และป้องกันไม่ให้เกิดการสะสมไขมันส่วนเกินในร่างกาย โดยจำกัดให้ระดับน้ำตาลเพียงพอ แค่ใช้พลังงานจำเป็นเท่านั้น

แป้งพบในไหน

หรือเรียกว่าโมโนแชคคาไรด์(monosaccharide) หรือน้ำตาลชั้นเดียว(simple sugar) เป็นน้ำตาลที่เกิดจากการรวมตัวของคาร์บอนตั้งแต่ 3 ตัวถึง 6 ตัว น้ำตาลกลุ่มนี้จัดอยู่ในกลุ่มของคาร์โบไฮเดรตที่ให้รสหวาน สูตรโมเลกุลคือ C n H 2n O n เป็นคาร์โบไฮเดรตที่มีขนาดโมเลกุลเล็กที่สุด เมื่อรับประทานเข้าไปสามารถ ร่างกายสามารถดูดซึมแล้วนำไปใช้ได้เลยโดยไม่ต้องย่อยอีก สำหรับน้ำตาลที่ประกอบด้วยคาร์บอน 5 ตัว เรียกว่า เพนโทส (pentose) ส่วนน้ำตาลเฮกโซส (hexose) มีจำนวนคาร์บอน 6 อะตอม เป็นน้ำตาลที่พบมากที่สุด มี 3 ชนิด คือ น้ำตาลกลูโคส น้ำตาลฟรุกโทส และน้ำตาลกาแลกโตส น้ำตาลพวกนี้จะละลายน้ำได้ดี เป็นผลึกสีขาว มีรสหวาน พบได้ใน ผัก ผลไม้ น้ำนม และน้ำผึ้ง โดยทั่วไปจะมีจำนวนคาร์บอนอะตอมตั้งแต่ 3 ถึง 8 ก.

You might be interested:  กางเกง สี เทา รองเท้า สี อะไร?

น้ำตาลกลูโคส (glucose) มีอยู่ในธรรมชาติทั่วไป ในพืช ผัก ผลไม้ องุ่น ข้าวโพด น้ำผึ้ง เป็นน้ำตาลที่สลายให้พลังงานมากที่สุดในสิ่งมีชีวิต มีความหวานเป็นที่สองรองจากน้ำตาลฟรักโทส ทางการแพทย์ใช้กลูโคสเป็นแหล่งพลังงานที่ต้องการใช้อย่างรวดเร็ว เช่น ในคนป่วยที่อ่อนแอ น้ำตาลกลูโคสเป็นน้ำตาลชนิดเดียวในกระแสเลือดของมนุษย์ที่ได้จากการย่อยคาร์โบไฮเดรตจึงเรียกว่า น้ำตาลในเลือด (blood sugar) เซลล์จำนวนมากใช้ไขมันและโปรตีน ในการสร้างพลังงานได้ อย่างไรก็ดี เนื้อเยื่อประสาทใช้กลูโคสอย่างเดียวเท่านั้น ส่วนในสัตว์มักพบน้ำตาลกลูโคสมีอยู่ตลอดเวลา เนื่องจากเป็นสารที่จำเป็นต้องใช้ในการเปลี่ยนโมเลกุลของไขมันและโปรตีนเป็นคาร์โบไฮเดรต ข.

น้ำตาลฟรักโทส (fructose) เป็นน้ำตาลที่มีรสหวานกว่าน้ำตาลชนิดอื่น พบมากในน้ำผึ้ง โดยในน้ำผึ้งมีน้ำตาลฟรักโทสเป็นองค์ประกอบถึง 40 % นอกจากนี้ยังพบในเกสรดอกไม้ ผัก ผลไม้ กากน้ำตาล ที่มีรสหวาน เช่น มะม่วงสุก เป็นต้น ค. น้ำตาลกาแล็กโตส (galactose)เป็นน้ำตาลที่มีสูตรโครงสร้างคล้ายน้ำตาลกลูโคสมากที่สุด น้ำตาลชนิดนี้เราไม่พบในธรรมชาติ เพราะปกติจะรวมอยู่กับน้ำตาลกลูโคสเป็นไดแชคคาไรด์ชื่อแล็กโตสที่มีอยู่เฉพาะในอาหารพวกนม และผลิตผลของนมทั่วๆไป 2.

น้ำตาลโมเลกุลคู่ หรือเรียกว่าไดแชคคาไรด์(disaccharide) หรือน้ำตาลสองชั้น(double sugar) จัดอยู่ในกลุ่มของคาร์โบไฮเดรตที่ให้รสหวาน เป็นคาร์โบไฮเดรตที่เกิดโมโนแชคคาไรด์ 2 โมเลกุล มารวมตัวกัน เมื่อเรารับประทานน้ำตาลโมเลกุลคู่เข้าไป จะมีการย่อยโดยเอนไซม์ในระบบย่อยอาหารได้น้ำตาลชั้นเดียวก่อนจึงจะดูดซึมต่อไปได้ คาร์โบไฮเดรตประเภทนี้ที่สำคัญคือ น้ำตาลซูโครสหรือน้ำตาลทราย น้ำตาลมอลโทส และน้ำตาลแล็กโทส มีความสามารถในการละลายน้ำต่างกันไป คือ น้ำตาลซูโครสละลายน้ำได้ดี น้ำตาลมอลโทสละลายน้ำได้ค่อนข้างดี ส่วนน้ำตาลแล็กโทสละลายน้ำได้เล็กน้อย ก.

น้ำตาลซูโครส(sucrose) หรือน้ำตาลทรายหรือน้ำตาลอ้อย เป็นน้ำตาลที่เรารับประทานกันมากกว่าคาร์โบไฮเดรตอื่นๆ พบว่าเมื่อน้ำตาลซูโครสแตกตัวหรือถูกย่อยจะให้น้ำตาลกลูโคสกับน้ำตาลฟรักโทสอย่างละ 1 โมเลกุล คนไทยบริโภคน้ำตาลประมาณคนละ 10 กิโลกรัม/ ปี เพื่อนำมาใช้ประกอบอาหารเกือบทุกชนิด น้ำตาลชนิดนี้พบมากในอ้อย หัวบีต และผลไม้ที่มีรสหวานเกือบทุกชนิด ข.

น้ำตาลมอลโทส (moltose) เป็นน้ำตาลโมเลกุลคู่ที่เกิดจาการรวมตัวของกลูโคส 2 โมเลกุล ไม่เกิดในรูปอิสระในธรรมชาติ แต่จะพบมากในเมล็ดข้าวที่กำลังงอกหรือน้ำที่สกัดจากข้าวงอก (malt-liquors) ค.น้ำตาลแล็กโทส (lactose) เป็นน้ำตาลโมเลกุลคู่ที่เกิดจาการรวมตัวของกลูโคส กับกาแลกโตส อย่างละ 1 โมเลกุล ไม่พบในพืช มักพบอยู่ในน้ำนม เราจึงรู้จักในชื่อ น้ำตาลนม และพบในปัสสาวะหญิงมีครรภ์ น้ำตาลแลกโทสนี้แตกต่างกับน้ำตาลสองชั้นตัวอื่น คือ จะมีความหวานน้อยกว่า ละลายน้ำได้น้อยกว่า ย่อยได้ช้ากว่าและบูด (ferment) ได้ยากกว่าซูโครส และมอลโทส 3.

น้ำตาลโมเลกุลใหญ่ หรือเรียกว่าพอลิแชคคาไรด์ (polysaccharide) หรือน้ำตาลหลายชั้น จัดอยู่ในกลุ่มของคาร์โบไฮเดรตที่ไม่มีรสหวาน เป็นคาร์โบไฮเดรตที่มีโมเลกุลใหญ่และซับซ้อน จำพวกพอลิเมอร์ที่เกิดจากโมเลกุลโมโนแชคคาไรด์ (กลูโคส) จำนวนมากมายต่อรวมกัน เป็นคาร์โบไฮเดรตที่มีมากที่สุด พบในธรรมชาติ เช่น แป้ง ไกลโคเจน เซลลูโลส ซึ่งน้ำตาลโมเลกุลใหญ่นี้จะไม่ละลายน้ำ ก.แป้ง (starch) เป็นคาร์โบไฮเดรตที่พบในพืช สะสมอยู่ในเมล็ด ราก หัว ลำต้น และใบของพืช เช่น ข้าว มัน เผือก กลอย โมเลกุลของแป้งเกิดจากน้ำตาลกลูโคสต่อกันเป็นจำนวนมากในรูปที่เป็นเส้นตรงอะมิโลส (amylose) และกิ่งก้านอะมิโลเพกทิน (amylopectin) เมื่อแป้งถูกย่อยถึงขั้นสุดท้ายจะได้น้ำตาลกลูโคส ข.ไกลโคเจน (glycogen) เป็นน้ำตาลหลายชั้น พบในตับ และกล้ามเนื้อสัตว์ บางทีเรียกว่า แป้งสัตว์ มีส่วนประกอบคล้ายแป้ง แต่มีกิ่งก้านมากกว่า เมื่อแตกตัวออกจะได้กลูโคส ไม่พบในพืช ไม่มีรสหวาน ไม่ละลายน้ำ ค.

เซลลูโลส (cellulose) เป็นคาร์โบไฮเดรตโมเลกุลใหญ่ ประกอบด้วยโมเลกุลที่ต่อกันเป็นโซ่ยาวของกลูโคส พบมากในพืช เพื่อทำหน้าที่เสริมโครงสร้างของลำต้นและกิ่งก้านของพืช ผักและผลไม้ให้แข็งแรง ร่างกายคนเราไม่สามารถย่อยสลายเซลลูโลสได้ แต่จะมีการขับถ่ายออกมาในลักษณะของกากเรียกว่า เส้นใยอาหาร ช่วยกระตุ้นให้ลำไส้ใหญ่ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทำให้ขับถ่ายสะดวก พืชประเภทผัก และถั่ว ผลไม้ จัดเป็นแหล่งที่ให้เส้นใยอาหาร เพราะมีเซลลูโลสอยู่ปริมาณสูง ดังนั้นจึงควรกินเป็นประจำทุกวัน เซลลูโลสเมื่อย่อยจะแตกตัวออกให้น้ำตาลกลูโคส สัตว์ที่กินหญ้าจะสามารถย่อยเซลลูโลสได้โดยอาศัยแบคทีเรียในกระเพาะอาหารเป็นตัวย่อย เมื่อย่อยแล้วจะได้น้ำตาลกลูโคส แต่ถ้าสลายไม่สมบูรณ์ จะได้เป็นน้ำตาลเซลโลไบโอส เซลลูโลสเป็นสารที่ไม่ละลายน้ำ เพราะมีโมเลกุลใหญ่มาก ประกอบด้วยกลูโคสประมาณ 1,250-12,500 โมเลกุล ง,

ไคติน (chitin) เป็นคาร์โบไฮเดรตโมเลกุลใหญ่ที่พบในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง จะเป็นส่วนที่เป็นเปลือกแข็งหุ้มตัวสัตว์ เช่น แมลง กุ้ง ปู เป็นต้น จ.ลิกนิน(lignin) เป็นคาร์โบไฮเดรตโมเลกุลใหญ่ที่ช่วยเสริมความแข็งแรงให้กับเนื้อเยื่อของพืช โดยสะสมตามผนังเซลล์ของพืช ทำให้เนื้อไม้มีความแข็งแรง ฉ.เฮปาริน (heparin) เป็นคาร์โบไฮเดรตโมเลกุลใหญ่ที่พบใน ตับ ปอด ผนังเส้นเลือดแดง มีสมบัติทำให้เลือดไม่แข็งตัว ช.อินนูลิน(inulin) เป็นคาร์โบไฮเดรตโมเลกุลใหญ่ที่พบในพืชบางชนิด เช่น หัวหอม กระเทียม ประกอบไปด้วยน้ำตาลฟรักโทสหลาย ๆ โมเลกุลมาต่อกัน ซ.เพกติน (pectin) เป็นคาร์โบไฮเดรตที่พบใน ผลไม้ มีลักษณะคล้ายวุ้น ประกอบด้วย กาแลกโทสหลาย ๆ โมเลกุลรวมกัน บทความนี้เกิดจากการเขียนและส่งขึ้นมาสู่ระบบแบบอัตโนมัติ สมาคมฯไม่รับผิดชอบต่อบทความหรือข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือไม่ ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และหากท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือทำให้เกิดความเสียหาย หรือละเมิดสิทธิใดๆ กรุณาแจ้งมาที่ ht[email protected] เพื่อทีมงานจะได้ดำเนินการลบออกจากระบบในทันที

แป้งอยู่ในสถานะใด

อนุภาคของ ของแข็ง สั่นอยู่กับที่อนุภาคของ ของเหลวและแก๊ส ไม่มีการสั่น อนุภาคของของแข็งสั่นอยู่กับที่อนุภาคของ ของเหลวและแก๊ส สั่นและเคลื่อนที่ได้ แป้งฝุ่น น้้าตาลทราย มีสถานะเป็นของเหลว แป้งฝุ่น น้้าตาลทราย มีสถานะเป็นของแข็ง

แป้งเป็นคาร์โบไฮเดรตประเภทอะไร

คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate) คือสารอาหารหลักชนิดหนึ่งซึ่งเป็นแหล่งพลังงานสำคัญของร่างกาย อาหารส่วนใหญ่ประกอบไปด้วยคาร์โบไฮเดรตและสารอาหารหลักชนิดอื่น ๆ อย่างไขมันและโปรตีนในปริมาณที่แตกต่างกัน โดยคาร์โบไฮเดรตที่พบในอาหารแบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่ น้ำตาล แป้ง และเส้นใยอาหาร อาหาร จํา พวก แป้ง มี อะไร บ้าง โดยทั่วไปแล้ว ร่างกายจะย่อยคาร์โบไฮเดรตให้กลายเป็นกลูโคสเพื่อดูดซึมสู่กระแสเลือด และนำไปใช้เป็นพลังงานสำหรับเซลล์ เนื้อเยื่อ รวมทั้งอวัยวะต่าง ๆ ส่วนน้ำตาลที่เหลือจากการใช้ทำกิจกรรมต่าง ๆ จะถูกสะสมไว้ที่ตับและกล้ามเนื้อ เพื่อนำออกมาใช้ในยามจำเป็น คาร์โบไฮเดรตมีกี่ประเภท ? คาร์โบไฮเดรตแบ่งออกเป็น 2 ชนิดหลัก คือ คาร์โบไฮเดรตเชิงเดี่ยว และคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อน

คาร์โบไฮเดรตเชิงเดี่ยว (Simple Carbs) หรืออาจเรียกว่าน้ำตาลเชิงเดี่ยว มักพบในน้ำตาลที่ผ่านการขัดสี เช่น น้ำตาลทรายขาว อย่างไรก็ดี คาร์โบไฮเดรตชนิดนี้พบได้ในอาหารอื่น ๆ ที่ให้คุณค่าทางโภชนาการเช่นกัน ได้แก่ ผลไม้ หรือน้ำนม ซึ่งเป็นแหล่งคาร์โบไฮเดรตเชิงเดี่ยวที่ควรเลือกรับประทาน เพราะมักไม่มีน้ำตาลปรุงแต่งและอุดมด้วยสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ควรเลี่ยงอาหารที่ปรุงแต่งด้วยน้ำตาล เช่น โซดา คุกกี้ ซีเรียล พาย น้ำผลไม้ ลูกอม เป็นต้น คาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อน (Complex Carbs) คืออาหารจำพวกแป้งและเส้นใยอาหาร เช่น ผลิตภัณฑ์จากธัญพืชอย่างขนมปัง แครกเกอร์ เส้นพาสต้า ข้าว รวมถึงผักใบเขียว ถั่วต่าง ๆ หรือแอปเปิล ทั้งนี้ ควรเลี่ยงการรับประทานคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อนชนิดผ่านการขัดสี เช่น ข้าวขาว หรือขนมปังขาว ซึ่งเป็นกระบวนการที่ทำให้สูญเสียคุณค่าทางสารอาหาร ควรเลือกรับประทานธัญพืชที่ไม่ผ่านการขัดสี อันอุดมไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุต่าง ๆ รวมทั้งมี เส้นใยอาหารสูง ช่วยกระตุ้นระบบย่อยอาหารให้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ยังเป็นทางเลือกที่ดีสำหรับผู้ที่ต้องการควบคุมน้ำหนัก เพราะส่งผลให้รู้สึกอิ่มนาน รวมทั้งช่วยควบคุมระดับน้ำตาลหลังรับประทานอาหารของผู้ป่วยเบาหวานได้ด้วย

ค่าดัชนีน้ำตาลในคาร์โบไฮเดรตคืออะไรและสำคัญอย่างไร ค่าดัชนีน้ำตาล (Glycemic Index: GI) คือค่าบ่งชี้ระดับน้ำตาลในเลือดหลังรับประทานอาหารจำพวกคาร์โบไฮเดรต ซึ่งมีความสำคัญต่อผู้ป่วยเบาหวาน เนื่องจากการรับประทานอาหารที่มีค่าดัชนีน้ำตาลสูงจะส่งผลให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้นมาก ผู้ป่วยเบาหวานจึงควรเลือกบริโภคอาหารที่มีค่าดัชนีน้ำตาลระดับต่ำถึงปานกลาง หรือรับประทานอาหารที่มีค่าดัชนีน้ำตาลสูงควบคู่กับอาหารที่มีค่าดัชนีน้ำตาลต่ำ เพื่อให้เกิดความสมดุล โดยแบ่งประเภทอาหารตามระดับค่าดัชนีน้ำตาลได้ดังนี้

อาหารดัชนีน้ำตาลต่ำ มีค่าดัชนีน้ำตาลในระดับ 55 หรือน้อยกว่านั้น มักพบในผัก ผลไม้ ถั่วชนิดต่าง ๆ ธัญพืชที่ผ่านกระบวนการแปรรูปเพียงเล็กน้อย และผลิตภัณฑ์เนยนมไขมันต่ำ อาหารดัชนีน้ำตาลปานกลาง มีค่าดัชนีน้ำตาลอยู่ในระดับ 56-69 ได้แก่ มันหวาน ข้าวโพด ข้าวขาว หรืออาหารเช้าซีเรียล อาหารดัชนีน้ำตาลสูง มีค่าดัชนีน้ำตาลในระดับ 70 ขึ้นไป ได้แก่ ขนมปังขาว เค้กข้าว แครกเกอร์ โดนัท หรือครัวซองต์

อย่างไรก็ตาม สิ่งที่ควรพิจารณาในการเลือกอาหารจำพวกคาร์โบไฮเดรตอีกอย่างหนึ่งก็คือคุณค่าทางสารอาหาร อาหารที่มีค่าดัชนีน้ำตาลสูงบางอย่างอาจมีคุณค่าทางโภชนาการมากกว่าอาหารที่มีค่าดัชนีน้ำตาลต่ำ เช่น ข้าวโอ๊ตมีค่าดัชนีน้ำตาลและสารอาหารสูงกว่าช็อกโกแลต ผู้ป่วยจึงควรเลือกบริโภคอาหารจำพวกคาร์โบไฮเดรตที่มีค่าดัชนีน้ำตาลพอเหมาะและมีสารอาหารครบถ้วน ในปริมาณที่เหมาะสมต่อความต้องการของร่างกาย คาร์โบไฮเดรตสำคัญต่อร่างกายอย่างไร คาร์โบไฮเดรตคือแหล่งพลังงานหลักของร่างกาย โดยคาร์โบไฮเดรต 1 กรัมให้พลังงาน 4 แคลอรี่ ในแต่ละมื้อควรรับประทานอาหารจำพวกคาร์โบไฮเดรตในปริมาณที่เหมาะสม การงดคาร์โบไฮเดรตจะทำให้เสี่ยงต่อการขาดสารอาหารและเกิดปัญหาสุขภาพต่าง ๆ ได้ เนื่องจากคาร์โบไฮเดรตมีความสำคัญต่อร่างกาย ดังนี้

ให้พลังงาน โดยทั่วไปแล้ว ร่างกายจะย่อยสลายคาร์โบไฮเดรตให้กลายเป็นกลูโคสหรือน้ำตาล และดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือด โดยมีฮอร์โมนอินซูลินคอยลำเลียงกลูโคสไปยังเซลล์ของร่างกาย เพื่อเป็นพลังงานในการประกอบกิจกรรมต่าง ๆ แต่หากร่างกายไม่ได้นำกลูโคสไปใช้ ก็จะเก็บกลูโคสเหล่านั้นไว้ที่ตับและกล้ามเนื้อในรูปของไกลโคเจน ส่วนกลูโคสที่เหลือจะถูกเปลี่ยนเป็นไขมัน เพื่อใช้เป็นพลังงานสำรองในระยะยาว เสริมสร้างสุขภาพ อาหารจำพวกคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อนอย่างผักใบเขียว ถั่วต่าง ๆ หรือธัญพืชไม่ขัดสี ล้วนอุดมไปด้วยเส้นใยอาหาร ให้คุณค่าทางโภชนาการและมีคุณประโยชน์ต่อร่างกาย โดยช่วยให้ระบบขับถ่ายดีขึ้น ลดการเกิดท้องผูก อีกทั้งอาจช่วยลดระดับคอเลสเตอรอล หลักฐานทางวิทยาศาสตร์หลายชิ้นชี้ให้เห็นว่าการรับประทานอาหารที่มีเส้นใยอาหารสูงอย่างผัก ผลไม้หรือธัญพืชไม่ขัดสี ช่วยลดโอกาสเสี่ยงของโรคหัวใจและหลอดเลือด ทั้งยังป้องกันการเกิดภาวะอ้วนและเบาหวานชนิดที่ 2 ควบคุมน้ำหนัก อาหารประเภทคาร์โบไฮเดรตนั้นให้พลังงานน้อยกว่าไขมัน และหากเป็นคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อนก็ยังอุดมไปด้วยเส้นใยอาหาร ช่วยให้รู้สึกอิ่มและได้รับพลังงานน้อยกว่า ผู้ที่ต้องการลดน้ำหนักจึงควรเลือกรับประทานอาหารจำพวกแป้งที่มีเส้นใยอาหารสูงแทนอาหารที่มีไขมันสูง เพื่อไม่ให้ร่างกายได้รับพลังงานมากเกินไป

You might be interested:  เด รส สีชมพู รองเท้า สี อะไร?

ความเชื่อและข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการรับประทานคาร์โบไฮเดรต ลดคาร์โบไฮเดรต ช่วยลดน้ำหนัก วิธีลดน้ำหนักแบบพร่องแป้งหรือที่เรียกกันทั่วไปว่า “โลว์คาร์บ” (Low Carbs Diet) คือการบริโภคคาร์โบไฮเดรตในปริมาณน้อย และเน้นรับประทานอาหารจำพวกโปรตีนกับไขมัน ซึ่งหลายคนเชื่อว่าวิธีนี้ช่วยลดน้ำหนักได้จริง ทั้งยังส่งผลดีต่อสุขภาพ เช่น ลดความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและกลุ่มอาการเมตาบอลิก นอกจากนี้ ยังมีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์หลายชิ้นที่ศึกษาเกี่ยวกับประเด็นนี้ โดยงานวิจัยชิ้นหนึ่งเปรียบเทียบ วิธี ลดน้ำหนัก ระหว่างการลดแป้งกับการลดไขมัน เพื่อดูว่าจะส่งผลต่ออารมณ์ ความหิว และมีอาการอื่น ๆ แตกต่างกันอย่างไร ผลลัพธ์พบว่าการลดน้ำหนักด้วยวิธีลดแป้งก่อให้เกิดอาการที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพ แต่ช่วยให้รู้สึกหิวน้อยกว่าผู้ที่ลดน้ำหนักด้วยการลดไขมัน การลดปริมาณคาร์โบไฮเดรตอาจเป็นวิธีลดน้ำหนักที่ช่วยรักษามวลกล้ามเนื้อภายในร่างกายได้ ดังปรากฏในงานวิจัยอีกชิ้นที่แบ่งผู้เข้าร่วมการทดลองออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรกลดน้ำหนักด้วยการลดคาร์โบไฮเดรต และอีกกลุ่มจำกัดจำนวน แคลอรี่อาหาร ให้น้อยลง เพื่อเปรียบเทียบว่าวิธีใดช่วยลดน้ำหนักได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่า ผลการทดลองชี้ให้เห็นว่าการรับประทานคาร์โบไฮเดรตน้อยลงช่วยให้น้ำหนักลดลง และไม่ทำให้ร่างกายสูญเสียมวลกล้ามเนื้อ ลดความเสี่ยงต่อภาวะกล้ามเนื้อพร่อง อย่างไรก็ดี ปัจจุบันยังไม่อาจยืนยันได้ว่าการลดแป้งจะส่งผลต่อการลดน้ำหนักได้จริง ควรมีการทดลองระยะยาวกับกลุ่มคนจำนวนมากขึ้น รวมถึงการศึกษาเกี่ยวกับการรักษาน้ำหนักให้คงที่และการควบคุมปัจจัยเสี่ยงจากการลดน้ำหนักด้วยวิธีนี้ ทั้งยังปรากฏงานวิจัยอื่นที่ชี้ให้เห็นว่าการลดคาร์โบไฮเดรตไม่ได้เป็นวิธีลดน้ำหนักที่มีประสิทธิภาพเสมอไป งานวิจัยชิ้นหนึ่งศึกษาปริมาณและค่าดัชนีน้ำตาลที่ส่งผลต่ออัตราการเผาผลาญและองค์ประกอบของร่างกายระหว่างลดน้ำหนัก ผลลัพธ์พบว่าผู้ที่บริโภคอาหารจำพวกคาร์โบไฮเดรตที่มีค่าดัชนีน้ำตาลต่ำในปริมาณพอดี มีอัตราการเผาผลาญของร่างกายและมวลไขมันเท่าเดิม ทั้งยังไม่ได้ช่วยในการรักษามวลกล้ามเนื้อ นอกจากนี้ การงดคาร์โบไฮเดรตมากเกินไปอาจก่อให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์ เช่น ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เมื่อยล้า ท้องผูกหรือท้องร่วง และลมหายใจเหม็น ส่วนผู้ที่รับประทานคาร์โบไฮเดรตน้อยกว่าวันละ 20 กรัม อาจมีภาวะคีโตซิส (Ketosis) เนื่องจากร่างกายขาดน้ำตาลหรือกลูโคสสำหรับนำมาใช้เป็นพลังงาน ทำให้ต้องย่อยสลายไขมันออกมา ส่งผลให้เกิดคีโตนขึ้นในร่างกาย อันมีผลข้างเคียงเป็นอาการคลื่นไส้ ปวดศีรษะ ลมหายใจเหม็น และเมื่อยล้าตามร่างกาย หากลดปริมาณคาร์โบไฮเดรตมากเกินไปเป็นเวลานานอาจทำให้ขาดวิตามินและเกลือแร่ สูญเสียมวลกระดูก เกิดความผิดปกติเกี่ยวกับกระเพาะอาหารและลำไส้ รวมทั้งเสี่ยงเกิดปัญหาสุขภาพเรื้อรังมากมาย ลดคาร์โบไฮเดรต ช่วยลดไขมันพอกตับ ไขมันพอกตับ หรือภาวะไขมันคั่งในตับ (Non-Alcoholic Fatty Liver Disease) ชนิดที่ไม่ได้เกิดจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เป็นโรคที่อาจมีปัจจัยเสี่ยงมาจากปัญหาสุขภาพหลายประการ ได้แก่ คอเลสเตอรอลสูง กลุ่มอาการเมตาบอลิก ภาวะอ้วน เบาหวานชนิดที่ 2 ภาวะถุงน้ำรังไข่หลายใบ ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ ไฮโปไทรอยด์ หรือภาวะต่อมใต้สมองทำงานน้อย การปรับพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่จะช่วยเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงดังกล่าวอาจช่วยควบคุมอาการของโรคนี้ได้ งานวิจัยชิ้นหนึ่งได้ศึกษาประสิทธิภาพของอาหารเมดิเตอร์เรเนียนที่มีค่าดัชนีน้ำตาลต่ำต่อการลดภาวะไขมันพอกตับ โดยให้ผู้ป่วยกลุ่มหนึ่งรับประทานอาหารเมดิเตอร์เรเนียนค่าดัชนีน้ำตาลต่ำ ส่วนผู้ป่วยอีกกลุ่มเป็นกลุ่มควบคุม ผลปรากฏว่าการรับประทาน อาหารเมดิเตอร์เรเนียน ที่มีค่าดัชนีน้ำตาลต่ำเป็นเวลา 6 เดือน ช่วยลดระดับความรุนแรงของภาวะไขมันพอกตับลงได้ อย่างไรก็ตาม ผลลัพธ์ดังกล่าวไม่อาจชี้ชัดได้ว่าการรับประทานอาหารที่มีค่าดัชนีน้ำตาลต่ำมีส่วนช่วยในการรักษาโรคไขมันพอกตับ เนื่องจากยังมีปัจจัยนอกเหนือจากพฤติกรรมการกินลักษณะนี้ที่อาจส่งผลดีต่ออาการของโรค ทางที่ดีผู้ป่วยไขมันพอกตับจึงควรเข้ารับการรักษาด้วยวิธีทางการแพทย์อย่างเหมาะสม ลดคาร์โบไฮเดรต ช่วยรักษาอาการเบาหวาน เบาหวานนับเป็นปัญหาสุขภาพที่ส่งผลให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงเกินไป การรักษาด้วยวิธีทางการแพทย์ควบคู่กับการปรับพฤติกรรมการใช้ชีวิตอาจช่วยควบคุมอาการของโรคได้ งานวิจัยชิ้นหนึ่งทดลองให้ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มีน้ำหนักตัวเกินปรับพฤติกรรมการกิน โดยลดแป้งหรือลดไขมันระหว่างมื้ออาหาร ผลชี้ว่าการรับประทานคาร์โบไฮเดรตน้อยลงร่วมกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตนั้นส่งผลให้ลดน้ำหนักได้ดีขึ้น รวมทั้งช่วยควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดีกว่าการรับประทานอาหารแบบลดไขมันหรือไม่ได้ควบคุมอาหาร จึงอาจกล่าวได้ว่าการลดปริมาณคาร์โบไฮเดรตให้น้อยลงควบคู่กับปรับพฤติกรรมการใช้ชีวิตอื่น ๆ อาจเป็นผลดีต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 อย่างไรก็ดี การลดคาร์โบไฮเดรตเป็นเวลานานอาจก่อให้เกิดผลข้างเคียงต่าง ๆ ตามที่กล่าวไปแล้ว อีกทั้งในการเลือกรับประทานอาหารจำพวกคาร์โบไฮเดรตยังต้องพิจารณาปัจจัยอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากการจำกัดปริมาณให้น้อยลง โดยควรเลือกรับประทานอาหารที่มีค่าดัชนีน้ำตาลในระดับเหมาะสมด้วย เนื่องจากมีงานวิจัยชิ้นหนึ่งพบว่าการรับประทานคาร์โบไฮเดรตที่มีค่าดัชนีน้ำตาลต่ำในปริมาณมาก ส่งผลให้เกิดแก๊สในกระเพาะอาหารและปวดแน่นท้องมากกว่าการรับประทานคาร์โบไฮเดรตที่มีค่าดัชนีน้ำตาลสูงในปริมาณมากและการรับประทานคาร์โบไฮเดรตปริมาณน้อยแต่มีกรดไขมันไม่อิ่มตัวสูง คาร์โบไฮเดรตช่วยเสริมสร้างสมรรถภาพการออกกำลังกาย คาร์โบไฮเดรตเป็นแหล่งพลังงานหลักสำหรับการออกกำลังกาย หลายคนเชื่อว่าการรับประทานอาหารเสริมคาร์โบไฮเดรตระหว่างออกกำลังกายจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำกิจกรรมดังกล่าว ซึ่งประเด็นนี้มีการศึกษากับนักกีฬามหาวิทยาลัยกลุ่มหนึ่งที่แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มควบคุม และกลุ่มที่ดื่มเครื่องดื่มคาร์โบไฮเดรต โดยนักกีฬาต้องดื่มเครื่องดื่มของกลุ่มตัวเองระหว่างออกกำลังกายหนักสลับเบาหรือที่เรียกว่าสปรินท์ (Short Sprints) ซึ่งประกอบด้วยการฝึกแรงต้าน กระโดด และวิ่งไปกลับ ปรากฏว่ากลุ่มที่ดื่มเครื่องดื่มคาร์โบไฮเดรตมีสมรรถภาพการออกกำลังกายคงที่ มีสมรรถภาพความแข็งแรง และส่งผลให้ออกกำลังกายได้อย่างมีประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตาม ยังไม่อาจชี้ชัดได้ว่าคาร์โบไฮเดรตช่วยกระตุ้นสมรรถภาพในการเล่นกีฬาหรือออกกำลังกาย เนื่องจากงานวิจัยนี้ศึกษากับผู้เข้าร่วมทดลองจำนวนเพียง 7 ราย ซึ่งนับเป็นกลุ่มตัวอย่างบางส่วนเท่านั้น นอกจากนี้ คาร์โบไฮเดรตอาจไม่ใช่ปัจจัยที่ช่วยเสริมสร้างสมรรถภาพการออกกำลังกายได้จริง ดังปรากฏในงานวิจัยอีกชิ้นที่ทำการศึกษากับนักกีฬาฟุตบอลชาย ผลพบว่านักกีฬาที่ดื่มเครื่องดื่มผสมสารละลายคาร์โบไฮเดรตร้อยละ 12 ในปริมาณ 250 มิลลิลิตร ก่อนและระหว่างพักครึ่งการแข่งขันฟุตบอล ไม่ปรากฏความเปลี่ยนแปลงของสมรรถภาพในการวิ่งหรือออกแรงเล่นกีฬาแต่อย่างใด คาร์โบไฮเดรตช่วยลดระดับคอเลสเตอรอล การรับประทานคาร์โบไฮเดรตที่ดีต่อสุขภาพนั้นไม่ได้ขึ้นอยู่กับปริมาณและค่าดัชนีน้ำตาลของอาหารเท่านั้น แต่ควรคำนึงถึงประเภทของคาร์โบไฮเดรตเป็นสำคัญ เนื่องจากคาร์โบไฮเดรตแต่ละประเภทส่งผลต่อสุขภาพต่างกัน ควรเลือกรับประทานธัญพืชเต็มเมล็ดที่ไม่ผ่านการขัดสีหรือกระบวนการแปรรูป ผัก ผลไม้ และถั่วต่าง ๆ เนื่องจากอาหารเหล่านี้มีวิตามิน เกลือแร่ เส้นใยอาหาร และสารอาหารที่จำเป็นต่อร่างกาย งานวิจัยชิ้นหนึ่งได้ศึกษาเปรียบเทียบคุณประโยชน์ของธัญพืชไม่ขัดสีกับธัญพืชที่ขัดสี พบว่าผู้ที่บริโภคธัญพืชไม่ขัดสีติดต่อกัน 6 สัปดาห์ มีระดับไขมันไม่ดีลดลง ทั้งยังถ่ายคล่องและบ่อยขึ้น โดยประเด็นนี้อาจต้องศึกษาเพิ่มเติม เพื่อชี้ให้เห็นว่าการรับประทานธัญพืชไม่ขัดสีนั้นช่วยกระตุ้นการขับถ่ายได้อย่างไร คาร์โบไฮเดรต ส่งผลต่อสุขภาพหัวใจ การรับประทานคาร์โบไฮเดรตประเภทน้ำตาลเชิงเดี่ยวหรืออาหารที่ผ่านกระบวนการแปรรูปอาจส่งผลเสียต่อสุขภาพได้ โดยอาจทำให้น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น รวมทั้งทำให้เสี่ยงเกิด โรคเบาหวาน และโรคหัวใจ ดังปรากฏหลักฐานในงานวิจัยหนึ่งที่ศึกษาผลกระทบของน้ำตาลต่อการทำงานของหลอดเลือด ผู้เข้าร่วมการทดลองเพศชายสุขภาพดีจำนวน 12 ราย ดื่มน้ำเปล่า 600 มิลลิลิตร หรือดื่มเครื่องดื่มผสมน้ำตาล พร้อมเข้ารับการตรวจการทำงานของกล้ามเนื้อและผนังหลอดเลือด ผลการทดลองพบว่าการบริโภคเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลส่งผลเสียต่อการทำงานของผนังหลอดเลือดขนาดเล็กและหลอดเลือดขนาดใหญ่ อีกทั้งยังทำให้หลอดเลือดขยายตัวน้อยลงอีกด้วย กินคาร์โบไฮเดรตอย่างไรให้ดีต่อสุขภาพ การเลือกรับประทานคาร์โบไฮเดรตในปริมาณที่เหมาะสมช่วยเสริมสร้างสุขภาพที่ดีได้ ดังนี้

เริ่มมื้อแรกของวันด้วยธัญพืชไม่ขัดสี ผู้ที่รับประทานซีเรียลเป็นอาหารเช้าควรเลือกซีเรียลที่มีใยอาหารอย่างน้อย 4 กรัม และมีน้ำตาลน้อยกว่า 8 กรัม รวมทั้งดูว่ามีส่วนผสมของธัญพืชไม่ขัดสีปรากฏเป็นส่วนผสมอันดับแรกบนฉลากผลิตภัณฑ์หรือไม่ เลือกผลิตภัณฑ์จากธัญพืชไม่ขัดสี ควรเลือกรับประทานขนมปังที่ทำมาจากธัญพืชไม่ขัดสีเต็มเมล็ดแทนการรับประทานขนมปังขาว เช่น ขนมปังโฮลวีต ขนมปังจากไรย์เต็มเมล็ด และเลือกข้าวกล้องแทนข้าวขาว เลือกผักผลไม้แทนน้ำผลไม้ เนื่องจากผักและผลไม้สดมีใยอาหารสูง และมีน้ำตาลน้อยกว่าน้ำผลไม้ รับประทานถั่วต่าง ๆ แทนขนมขบเคี้ยว เนื่องจากถั่วจัดเป็นแหล่งคาร์โบไฮเดรตชั้นดีที่ให้โปรตีนสูงและย่อยช้า ทำให้รู้สึกอิ่มนาน ลดน้ำตาล ลดการบริโภคอาหารที่ปรุงแต่งด้วยน้ำตาล เช่น น้ำอัดลม ขนมหวาน หรือลูกอม กินคาร์โบไฮเดรตให้เพียงพอ ผู้ที่ออกกำลังกายสร้างกล้ามเนื้อควรรับประทานคาร์โบไฮเดรตให้เพียงพอและเหมาะสมต่อความต้องการของร่างกาย เนื่องจากคาร์โบไฮเดรตจัดเป็นแหล่งพลังงานหลักสำหรับการทำกิจกรรมต่าง ๆ อีกทั้งคาร์โบไฮเดรตที่สะสมในรูปของไกลโคเจนตามกล้ามเนื้อนั้นมีอยู่จำกัด หากร่างกายไม่ได้รับคาร์โบไฮเดรตอย่างเพียงพอ อาจส่งผลให้ขาดพลังงานและเหนื่อยเร็วได้ รับประทานอาหารให้สมดุล ผู้ป่วยโรคเบาหวานควรรับประทานผักผลไม้ เลี่ยงกรดไขมันอิ่มตัวและเกลือ และไม่ควรงดคาร์โบไฮเดรตโดยเด็ดขาด ควบคู่ไปกับการรับประทานยาตามแพทย์สั่ง และออกกำลังกายอย่างพอเหมาะสม่ำเสมอ

แป้งข้าวขาวคือแป้งอะไร

แป้งข้าว เป็นแป้งที่ผ่านกระบวนการแปรรูปจากข้าวสาร ด้วยกระบวนการผลิตแบบโม่นำ้ที่ใช้เทคโนโลยีทันสมัย ปัจจุบัน ผลิตโดยโรงงาน Tay Ninh Tapioca Joint Stock Company ประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ผลิตทั้งแป้งข้าวเจ้า และแป้งข้าวเหนียว ที่มีการคัดเลือกวัตถุดิบที่มีคุณภาพดี นำมาซึ่งผลิตผลที่มีความขาวสะอาดที่สม่ำเสมอ และความ

แป้งข้าวจ้าวทำมาจากอะไร

แป้งข้าวเจ้า (rice flour) เป็นแป้ง (flour) ที่ ผลิตจากการบดเมล็ดข้าว (rice) มีทั้งแป้งข้าวเจ้าและแป้งข้าวเหนียว วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตคือ ข้าวหักหรือปลายข้าว กรรมวิธีการผลิต กรรมวิธีการผลิตมี 3 วิธี คือ วิธีโม่แห้ง วิธีโม่น้ำ และวิธีผสม

แป้งกวนไส้ทำมาจากอะไร

แป้งกวนไส้ คือ แป้งที่ทำมาจากแป้งมันสำปะหลังดิบ โดยท้ายกระบวนการกรรมวิธีพิเศษ ในการปรับปรุงคุณสมบัติ ซึ่งเรียกว่า แป้งโมดิฟายด์ สตาร์ช (Modified starch)

ข้าว แป้ง เผือก มีสารอาหารชนิดใด

คาร์โบไฮเดรต เป็นสารอาหารที่พบมากใน ข้าว แป้ง น้ำตาล เผือก มัน และพืชผักผลไม้ที่มีรสหวาน ประโยชน์ต่อร่างกาย คือ ๑. ให้พลังงานความอบอุ่นแก่ร่างกาย

การรับประทานแป้งข้าวทำให้ได้รับสารอาหารประเภทใดมากที่สุด

อาหารกลุ่มข้าว-แป้ง อาหารกลุ่มนี้เป็นแหล่งของ คาร์โบไฮเดรต ซึ่งเป็นสารอาหารหลักที่ให้พลังงานแก่ร่างกายคาร์โบไฮเดรต 1 กรัม ให้พลังงาน 4 กิโลแคลอรี เมื่อรับประทานข้าว-แป้งเข้าไป จะเกิดการย่อยในลำไส้เล็ก คาร์โบไฮเดรตถูกย่อยให้มีขนาดเล็กลงจนอยู่ในรูปน้ำตาลกลูโคส

เผือกเป็นสารอาหารชนิดใด

ประโยชน์ของเผือก –

  1. ใบ ก้านใบ และยอดของต้นเผือกสามารถนำมารับประทานเป็นผักได้ โดยก้านใบสามารถนำมาใช้ประกอบอาหารได้หลายอย่าง เช่น ทำแกง หรือนำไปทำเป็นผักดอง โดยคุณค่าทางโภชนาการของใบต่อ 100 กรัม ประกอบไปด้วย วิตามินเอ 20,885 หน่วยสากล, วิตามินซี 142 มิลลิกรัม และคุณค่าทางโภชนาการของยอดต่อ 100 กรัม ประกอบไปด้วย วิตามินเอ 335 หน่วยสากล, วิตามินซี 8 มิลลิกรัม
  2. หัวเผือกสามารถนำมาใช้ทำเป็นอาหารคาวหวานได้หลายอย่าง เช่น เผือกเชื่อม เผือกทอด เผือกรังนก เผือกเส้นกรอบเค็ม เผือกกวน เผือกบวดชี เผือกฉาบ เผือกอบเนย เผือกหิมะ แกงบวดเผือก ขนมบัวลอยเผือกมะพร้าวอ่อน สังขยาเผือก ข้าวอบเผือก ข้าวเหนียวปิ้งใส่เผือก เค้กเผือก หม้อแกงเผือก เม็ดขนุนเผือก ขนมเผือก ขนมกุยช่ายไส้เผือก หรือนำไปใช้กวนเป็นไส้ขนมต่าง ๆ หรือใช้ทำเป็น ซุปเผือปลากะพง หัวปลาเผือกหม้อไฟ ข้าวต้มเผือก เผือกทรงเครื่อง ฯลฯ,
  3. นอกจากนี้ยังนำมาใช้ทำเป็นแป้งเผือกเพื่อใช้ทำขนมต่าง ๆ เช่น ขนมปัง หรือทำอาหารทารก ทำเครื่องดื่ม ฯลฯ หรือใช้เป็นอาหารเพื่อป้องกันโรคแพ้บางอย่างของเด็กทารก และใช้แทนธัญพืชในการรักษาโรคเกี่ยวกับกระเพาะลำไส้,
  4. ใยนำมาต้มให้หมูกิน (กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน)
  5. หัวเผือกเป็นอาหารที่มีคาร์โบไฮเดรตสูง มีโปรตีน แคลเซียม ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม วิตามินบี 1 วิตามินซี และสารอาหารอื่น ๆ เกือบครบทุกชนิดที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย (แม้ว่าจะมีปริมาณไม่สูงมากนัก) เผือกจึงเป็นอาหารที่ให้พลังงานและบำรุงสุขภาพไปพร้อมกัน มีรสหวานจืดอมมันนิดหน่อย ย่อยได้ง่าย เหมาะทั้งเด็ก ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ (แต่ไม่เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการลดน้ำหนัก เพราะเผือกมีแคลอรีสูง) แต่ก็ควรรับประทานในปริมาณที่เหมาะสม จึงจะเป็นประโยชน์ต่อร่างกาย ในสมัยก่อนเวลาเดินป่า มักจะขุดหัวเผือก มารับประทานเป็นอาหารเพราะช่วยทำให้อิ่มได้เหมือนกับรับประทานข้าว โดยคุณค่าทางโภชนาการของหัวเผือกเฉพาะส่วนที่กินได้ ต่อ 100 กรัม ทางกรมส่งเสริมการเกษตรได้ระบุไว้ว่า ให้พลังงาน 117 กิโลแคลอรี, คาร์โบไฮเดรต 26.8 กรัม, โปรตีน 2.1 กรัม, ไขมัน 0.1 กรัม, วิตามินบี 1 0.15 มิลลิกรัม, วิตามินบี 2 0.04 มิลลิกรัม, วิตามินบี 3 1 มิลลิกรัม, วิตามินซี 2 มิลลิกรัม, แคลเซียม 84 มิลลิกรัม และฟอสฟอรัส 54 มิลลิกรัม
You might be interested:  รองเท้า Keen ฟิ ว เจอร์ รังสิต อยู่ ชั้น ไหน?

แป้งมันมีประโยชน์อย่างไร

มันสำปะหลังเป็นพืชสารพัดประโยชน์นิยมนำมาแปรรูปเป็นวัตถุดิบอย่างผงชูรส สารให้ความหวาน และแป้งมันสำปะหลัง ตลอดจนนำมารับประทานเพื่อประโยชน์ด้านสุขภาพ เช่น บำรุงลำไส้ บำรุงระบบเผาผลาญ หรือรักษาโรคเบาหวาน เพราะมีคาร์โบไฮเดรต เส้นใย และสารอาหารบางชนิดที่เชื่อว่าดีต่อร่างกาย อาหาร จํา พวก แป้ง มี อะไร บ้าง คนส่วนใหญ่นิยมกินรากมันสำปะหลังหรือที่เรียกว่าหัวมัน โดยรากมันสำปะหลังต้ม 100 กรัม ให้พลังงาน 112 แคลอรี่ อุดมไปด้วยคาร์โบไฮเดรต เส้นใยอาหาร แคลเซียม ฟอสฟอรัส วิตามินบี 1 และวิตามินบี 2 นับว่ามีปริมาณสารอาหารที่จำเป็นต่อร่างกายน้อยเมื่อเทียบกับพืชชนิดอื่น แต่ได้มีการศึกษาทางวิทยาศาสตร์บางชิ้นชี้ให้เห็นคุณประโยชน์ทางยาของมันสำปะหลังในแง่มุมที่หลากหลาย ดังนี้ รักษาเบาหวาน แป้งมันสำปะหลังเป็นผลิตภัณฑ์ที่นิยมนำมาประกอบอาหารหลายชนิดและบริโภคกันมากในประเทศไทย ทั้งยังมีการกล่าวถึงคุณประโยชน์ในการต้านโรคเบาหวาน เนื่องจากมีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์บางชิ้นชี้ว่าแป้งมันสำปะหลังอาจส่งผลดีต่อผู้ป่วยโรคนี้ การศึกษาชิ้นหนึ่งได้สำรวจและเก็บข้อมูลจากผู้เข้าร่วมการทดลองที่มีอายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไปที่ไม่เคยเป็นโรคเบาหวาน จำนวน 409 ราย โดยรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการรับประทานอาหารและประวัติด้านสุขภาพเป็นเวลาประมาณ 3.5 ปี ผลพบว่ามีผู้เข้าร่วมทดลองป่วยเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 จำนวน 30 ราย ซึ่งคนกลุ่มนี้ต่างมีพฤติกรรมรับประทานเนื้อแดงมาก แต่กินแป้งมันสำปะหลังน้อย ผู้วิจัยจึงคาดว่าแป้งมันสำปะหลังอาจมีสรรพคุณในการป้องกันโรคเบาหวาน ผลการศึกษาดังกล่าวสอดคล้องกับผลการทดลองอีกชิ้นหนึ่งที่ชี้ให้เห็นถึงประสิทธิภาพของมันสำปะหลังในการควบคุม อาการของโรคเบาหวาน โดยให้ผู้ที่มีสุขภาพดีจำนวนหนึ่งรับประทานขนมปังที่ทำมาจากแป้งสาลีและแป้งมันสำปะหลัง พร้อมเข้ารับการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด ผลลัพธ์พบว่าผู้ที่รับประทานขนมปังที่มีส่วนผสมของแป้งมันสำปะหลังในปริมาณมากมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้นน้อยกว่าผู้ที่รับประทานขนมปังแป้งสาลีอย่างมีนัยสำคัญ การบริโภคแป้งมันสำปะหลังจึงอาจส่งผลดีต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานและไม่ทำให้อาการของโรคแย่ลง แม้ผลการศึกษาข้างต้นจะชี้ให้เห็นถึงประโยชน์ด้านการรักษาเบาหวานของมันสำปะหลัง แต่ก็ไม่อาจรับรองความปลอดภัยหากนำมาใช้จริง เนื่องจากไม่ได้ทดลองกับผู้ป่วยเบาหวานโดยตรง อีกทั้งโรคเบาหวานไม่ได้เกิดจากการรับประทานอาหารเพียงอย่างเดียว แต่ยังมีปัจจัยอื่น ๆ ประกอบด้วย ประเด็นนี้จึงต้องมีการศึกษาในระยะยาวกับผู้ป่วยจำนวนมากและควบคุมปัจจัยด้านต่าง ๆ อย่างรัดกุมต่อไป ผู้ที่ต้องการทดสอบสรรพคุณข้อนี้ของมันสำปะหลังควรคำนึงถึงความปลอดภัยเป็นหลัก โดยเฉพาะมันสำปะหลังดิบซึ่งมีสารบางชนิดที่อาจก่อให้เกิดพิษไซยาไนด์ในร่างกาย หากรับประทานเป็นประจำอาจส่งผลต่อการทำงานของต่อมไทรอยด์และระบบประสาท อันอาจนำไปสู่ภาวะ อัมพาต อวัยวะถูกทำลาย และเสียชีวิตได้ บำบัดโรคเกี่ยวกับระบบเผาผลาญอาหาร มีการศึกษาบางชิ้นชี้ว่ามันสำปะหลังอาจช่วยให้ระบบการเผาผลาญพลังงานทำงานได้ดีขึ้นและส่งผลดีต่อผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพด้านนี้ งานวิจัยชิ้นหนึ่งศึกษากับผู้ที่มีภาวะความบกพร่องของการสะสมไกลโคเจน (Glycogen Storage Disorders: GSD) ซึ่งเป็นโรคทางพันธุกรรมที่ทำให้ร่างกายเปลี่ยนกลูโคสเป็นไกลโคเจนหรือย่อยไกลโคเจนให้เป็นกลูโคสไม่ได้ตามปกติ ส่งผลให้น้ำตาลในเลือดต่ำ กล้ามเนื้ออ่อนแรง อ้วนมาก หรือมีปัญหาเกี่ยวกับไต โรคนี้รักษาได้ด้วยการรับประทานอาหารน้ำตาลต่ำเพื่อคงระดับน้ำตาลในเลือดให้เป็นปกติและป้องกันการมีไกลโคเจนสะสมในตับมากเกินไป มันสำปะหลังเป็นอาหารอีกชนิดหนึ่งที่มีคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อนซึ่งช่วยรักษาระดับน้ำตาลในเลือดได้ ดังปรากฏในการศึกษาชื้นหนึ่งที่เปรียบเทียบการย่อยของแป้งข้าวโพด แป้งแปรรูป และแป้งมันสำปะหลัง โดยทดสอบกับแบบจำลองกระเพาะอาหารและลำไส้ ผลการศึกษาเผยให้เห็นกระบวนการย่อยแป้งมันสำปะหลังที่จะปล่อยน้ำตาลออกมาช้า ๆ ซึ่งคุณสมบัตินี้อาจส่งผลดีต่อการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยที่มีความบกพร่องในการสะสมไกลโคเจน อย่างไรก็ตาม ยังไม่อาจชี้ชัดได้ว่ามันสำปะหลังมีสรรพคุณในการรักษาโรคดังกล่าว เนื่องจากเป็นการทดลองกับแบบจำลองระบบย่อยอาหารของมนุษย์เท่านั้น ประเด็นนี้จำเป็นต้องมีการศึกษากับผู้ป่วยจริงต่อไปเพื่อรับรองประสิทธิภาพและความปลอดภัย นอกจากนี้ สิ่งที่ควรคำนึงถึงก็คือ มันสำปะหลังที่ปลูกในบางพื้นที่อาจปนเปื้อนสารอาร์เซนิกและแคดเมียมซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพ โดยผู้ที่ได้รับสารอาร์เซนิกสะสมเป็นเวลานานอาจเกิดอาการหัวใจเต้นผิดปกติ ตับและไตถูกทำลาย และเสี่ยงติดเชื้อได้สูง ส่วนผู้ที่มีแคดเมียมสะสมในร่างกายเรื้อรังอาจเกิดปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับไต ปอด และกระดูกเปราะได้ บำรุงสุขภาพลำไส้ มันสำปะหลังอุดมไปด้วยแป้งที่ให้พลังงานสูงและมีคุณสมบัติเหมือนเส้นใยอาหารชนิดละลายน้ำ อันส่งผลดีต่อสุขภาพลำไส้ เนื่องจากช่วยให้แบคทีเรียชนิดดีในลำไส้เจริญเติบโตได้ดีและกระตุ้นระบบการย่อยอาหาร รวมทั้งลดการอักเสบของลำไส้ อย่างไรก็ตาม มันสำปะหลังประกอบด้วยสารบางชนิด ได้แก่ ซาโปนิน ไฟเตต และแทนนิน ที่อาจขัดขวางการดูดซึมวิตามิน แร่ธาตุ แคลเซียม ธาตุเหล็ก สังกะสี และทองแดง อีกทั้งอาจก่อให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับการย่อยอาหาร ผู้ที่รับประทานมันสำปะหลังเป็นประจำอาจมีสารดังกล่าวสะสมในร่างกายในปริมาณมาก ส่งผลให้ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอหรือประสบภาวะทุพโภชนาการได้ กินมันสำปะหลังอย่างไรให้ปลอดภัยและได้ประโยชน์ หากต้องการนำมันสำปะหลังมาประกอบอาหาร ควรปรุงให้สุกและถูกสุขลักษณะ รวมทั้งรับประทานในปริมาณที่เหมาะสม โดยการบริโภคมันสำปะหลังให้ปลอดภัยและดีต่อสุขภาพนั้น ทำได้ดังนี้

ปอกเปลือกมันสำปะหลังก่อนนำไปประกอบอาหาร เนื่องจากเปลือกของรากมันสำปะหลังมีส่วนประกอบของไซยาไนด์มากที่สุด แช่มันสำปะหลังในน้ำเปล่าประมาณ 48-60 ชั่วโมงก่อนนำไปประกอบอาหารและบริโภค เพื่อลดสารเคมีตกค้าง ปรุงมันสำปะหลังให้สุกด้วยการต้ม ย่าง หรืออบ เพราะการบริโภคมันสำปะหลังดิบอาจทำให้ได้รับสารเคมีอันตรายได้ รับประทานมันสำปะหลังร่วมกับอาหารที่มี โปรตีน เนื่องจากโปรตีนมีส่วนช่วยในการขับสารพิษไซยาไนด์ที่อาจได้รับจากมันสำปะหลังออกจากร่างกาย รับประทานอาหารอย่างอื่นให้หลากหลายในปริมาณที่เหมาะสม เพื่อให้ได้รับสารอาหารครบถ้วน ควรบริโภคมันสำปะหลังประมาณ 70-100 กรัม หรือครึ่งถ้วยเล็ก เพื่อเลี่ยงการได้รับ แคลอรี่ มากเกินความต้องการของร่างกาย

แป้งมันช่วยในเรื่องอะไร

แป้งทำอาหาร แต่ละชนิดต่างกันอย่างไร? –

  • แป้งทำอาหาร แต่ละชนิดต่างกันอย่างไร ?
  • ไม่ทราบว่ามีใครเป็นเหมือนผู้เขียนหรือเปล่า เวลาจะไปซื้อแป้งมาทำขนมต้องใช้เวลาเลือกกันอยู่นานเลยทีเดียว แป้งทำอาหาร มีหลายชนิดมากจนเลือกไม่ถูก เวลาที่ทำอาหารง่ายๆอย่าง ผัดผักรวมมิตรหรือราดหน้า ทำไมพอทานๆ ไปราดหน้าไม่ค่อยร้อนหรือว่าเย็นตัวแล้วแล้วทำไมมันเหลวๆ ไม่อยู่ตัวไม่ข้นเหมือนตอนทำใหม่ๆ ตกลงมันต้องใช้แป้งอะไรทำกันแน่ เพื่อไขข้อสังสัยให้ตัวเอง ก็เลยไปหาข้อมูลมาแล้วเรียบเรียงมาแบ่งปันให้เพื่อนๆ ได้อ่านกัน แป้งทำอาหาร มีกี่ชนิด แป้งชนิดไหนเหมาะจะนำมาทำอะไร เราไปดูกันเลยคะ
  • แป้งข้าวเจ้า ( Rice flour)
  • แป้งข้าวเจ้า หรือบางทีก็เรียกว่า แป้งญวณ ทำมาจากเมล็ดข้าวจ้าว จับแล้วสากมือ เมื่อใช้มือสัมผัสจะมีความหยาบเล็กน้อย แต่สากมือกว่าแป้งสาลี พอทำให้สุกแล้วตัวแป้งจะมีสีขาวขุ่น จับตัวกันเป็นก้อน เหมาะสำหรับนำไปทำอาหารที่ต้องการความอยู่ตัว เนื้อขนมจะมีความแข็ง
  • แป้งข้าวเหนียว ( Glutinous flour)
  • ทำมาจากเมล็ดข้าวเหนียว มีลักษณะคล้ายๆ กับแป้งข้าวเจ้าคือเป็นผงสีขาวๆ เมื่อใช้มือสัมผัสจะมีความหยาบเล็กน้อยกว่าแป้งข้าวเจ้า พอทำให้สุกแล้วตัวแป้งจะมีสีขาวขุ่นข้น มีความเหนียว เหมาะสำหรับนำไปทำอาหารที่ต้องการความเหนียว นุ่ม
  • แป้งมันสำปะหลัง ( Tapioca starch / Cassava starch)
  • แป้งมันสำปะหลัง หรือแป้งมัน บางทีก็เรียกว่า แป้งมันสิงคโปร์ ทำมาจากหัวมันสำปะหลัง เป็นผงสีขาว เนื้อแป้งมีความละเอียด ลื่นมือ เมื่อถูกทำให้สุกแล้วตัวแป้งจะเหนียวหนืด มีสีใส เหมาะกับการนำไปทำอาหารที่มีความเหนียวแต่ใสและดูขึ้นเงา แต่ข้อเสียของแป้งมันสำปะหลังคือ เมื่อถูกทำให้เย็นลงจะคืนตัวง่ายมาก
  • แป้งข้าวโพด ( Corn starch)
  • ทำมาจากเมล็ดข้าวโพด เป็นผงสีขาวเหลืองนวล เนื้อแป้งเนียนและลื่นมือ ข้อดีของแป้งข้าวโพดคือ เมื่อถูกทำให้สุกแล้วเนื้อแป้งจะข้นเหนียว มีความใสและไม่คืนตัว ตัวอย่างอาหารที่ทำมาจากแป้งข้าวโพดก็ได้แก่ ราดหน้า ไส้ขนม รวมถึงซอสต่างๆ ด้วย
  • แป้งเท้ายายมอม ( Arrowroot Starch)
  • ทำมาจากหัวมันเท้ายายม่อม เป็นแป้งที่มีราคาสูงกว่าแป้งชนิดอื่นๆ เพราะหัวมันเท้ายายม่อมนั้นสามารถเก็บเกียวได้แค่ปีละครั้ง แถมวิธีการทำแป้งก็ค่อนข้างยุ่งยากซับซ้อน ตัวแป้งจะมีลักษณะเป็นเมล็ดสี่เหลี่ยมเล็กๆ สีขาว เนื้อสัมผัสจะมีความหยาบมากเมื่อเทียบกับแป้งชนิดอื่นๆ ก่อนนำมาทำอาหารต้องนำมาบดให้ละเอียด และร่อนด้วยตะแกรงเสียก่อน เมื่อโดนความร้อนจนสุกแล้วตัวแป้งจะมีลักษณะข้น เหนียวหนืด และมีความใส นิยมนำมาผสมกับแป้งชนิดอื่นๆ แล้วนำไปทำอาหารที่ต้องการความข้นเหนียวและมันวาว เช่นผสมกับแป้งข้าวโพดเพื่อทำขนมชั้น ขนมเปียกปูน ขนมน้ำดอกไม้ ลอดช่องต่างๆ

อาหาร จํา พวก แป้ง มี อะไร บ้าง

  1. แป้งถั่วเขียว ( Mung bean Starch)
  2. ทำมาจากเมล็ดถั่วเขียว เป็นผงสีขาว เนื้อแป้งสากมือเล็กน้อย ตัวแป้งเมื่อสุกแล้วจะมีลักษณะใสคล้ายกับวุ้น มีความมันเงา เมื่อพักให้เย็นตัวลงก็จะจับตัวเป็นก้อนแข็งแต่เด้ง อยู่ตัว เหมาะสำหรับอาหารที่มีความอยู่ตัว เช่น ตะโก้ ซ่าหริ่ม ลอดช่องแก้ว ขนมลืมกลืน
  3. แป้งสาลี ( Wheat Flour)
  4. แป้งสาลี ทำมาจากข้าวสาลี เมื่อถูกทำให้สุกแล้วเนื้อแป้งจะมีควรร่วน ปริมาณโปรตีนในแป้งสาลีก็จะทำให้แป้งมีคุณภาพแตกต่างกันออกไป เหมาะสำหรับทำขนมปัง เค้ก

อาหาร จํา พวก แป้ง มี อะไร บ้าง

  • แป้งมันฮ่องกง ( Potato starch)
  • ชื่อนี้อาจจะไม่ค่อยคุ้นหู เป็นแป้งที่ทำจากมันฝรั่ง ตัวแป้งเมื่อสุกแล้วจะมีความเหนียวข้น สีใสกว่าแป้งมันสำปะหลังหรือแป้งข้าวโพด ข้อดีของแป้งมันฮ่องกงจะมีความเหนียวไม่คืนตัว แม้จะเย็นตัวลงแล้วก็จะคงความเหนียว เหมาะสำหรับทำอาหารอย่างราดหน้า แน่นอนเลยนะคะชื่อก็บอกว่าเป็น แป้งมันฮ่องกง จึงเป็นแป้งที่คนจีนนิยมใช้ในการทำอาหารกันเป็นอย่างมาก
  • แป้งมักกะโรนี ( Macaroni flour / Durum flour)
  • เป็นแป้งที่ใช้ทำมักกะโรนีโดยเฉพาะ ผลิตมาจากข้าวสาลีพันธุ์ดูรัม เป็นแป้งที่มีโปรตีนสูง
  • ที่มา :

อาหาร จํา พวก แป้ง มี อะไร บ้าง ทั้งนี้ทางบริษัท เฟลเวอร์ แอนด์ อะโรเมติก กรุ๊ป จำกัด เป็นผู้ผลิตและจำหน่ายสารแต่งกลิ่นและรสชาติในอาหาร ภายใต้การควบคุมด้วยระบบมาตรฐานคุณภาพ ISO22000:2018 มีผลิตภัณฑ์สารแต่งกลิ่นและรสชาติในอาหารที่หลากหลายแนว เหมาะสำหรับสินค้าในหลายๆประเภท เช่น ซอส เครื่องดื่ม ขนมขบเคี้ยว เบเกอรี่ และไอศกรีม เป็นต้น หากลูกค้าท่านใด มีความประสงค์ที่จะให้ทางบริษัทฯ เราผลิตสารปรุงแต่งอาหาร ทั้งกลิ่นและรสชาติอาหารให้ สามารถติดต่อทางบริษัทฯของเราได้ ทางบริษัทฯ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นอีกทางเลือกหนึ่งสำหรับทุกท่าน หรืออุตสาหกรรมอาหารต่างๆ ที่สนใจหรือมองหาสารแต่งกลิ่นและรสชาติที่มีคุณภาพและราคาที่เหมาะสมเพื่อเสริมสร้างให้ความโดดเด่นด้านกลิ่นและรสชาติให้กับผลิตภัณฑ์ของท่าน : สารแต่งกลิ่นและรสชาติในอาหาร

แป้งข้าวจ้าวทำมาจากอะไร

แป้งข้าวเจ้า (rice flour) เป็นแป้ง (flour) ที่ ผลิตจากการบดเมล็ดข้าว (rice) มีทั้งแป้งข้าวเจ้าและแป้งข้าวเหนียว วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตคือ ข้าวหักหรือปลายข้าว กรรมวิธีการผลิต กรรมวิธีการผลิตมี 3 วิธี คือ วิธีโม่แห้ง วิธีโม่น้ำ และวิธีผสม

แป้งสาลี มีโทษอย่างไร

อาการโรคเซลิแอค (Celiac Disease) เกิดจากร่างกายสร้างภูมิต้านทานหรือสารต่อต้านกลูเตน ซึ่งเป็นโปรตีนที่มีอยู่ในพืชจำพวกข้าวสาลี ข้าวไรย์ และข้าวบาร์เลย์ หรือผลิตภัณฑ์ที่ทำจากแป้งสาลี จึง ทำให้ไม่สามารถดูดซึมอาหารบริเวณลำไส้เล็กได้ และอาจส่งผลให้ร่างกายขาดสารอาหาร โรคเซลิแอค เกิดขึ้นได้ทุกวัย แต่มักพบในเด็กมากกว่าผู้ใหญ่ หากเด็กมีอาการแล้วไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที จะส่งผลต่อการเจริญเติบโตของเด็ก และทำให้เด็กแคระแกร็นได้ ทั้งนี้ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร โดยหลีกเลี่ยงอาหารที่ทำจากแป้งและข้าวที่มีโปรตีนกลูเตน ซึ่งจะช่วยควบคุมไม่ให้เกิดอาการโรคเซลิแอครุนแรงขึ้น อาหาร จํา พวก แป้ง มี อะไร บ้าง

แป้งข้าวเหนียว กี่แคลอรี่

แคลอรี่ แป้ง, ข้าวเหนียว พลังงานทั้งหมด 110 กิโลแคลอรี่ ข้อมูลโภชนาการ, แคลอรี่, พลังงาน และสารอาหาร ใน แป้ง, ข้าวเหนียว ในปริมาณ 1/4 cup (30g) มีพลังงานทั้งหมด 110 กิโลแคลอรี่, โปรตีน 2 กรัม, คาร์โบไฮเดรต 24 กรัม, ไขมัน 0 กรัม เราสามารถดูรายละเอียดข้อมูลอื่นๆ เข่น เกลือโซเดียม, คอเลสเตอรอล, วิตามิน, ไขมันอิ่มตัว, ไขมันไม่อิ่มตัว, น้ำตาล, กากไยอาหาร ฯลฯ ได้จากตารางด้านล่างครับ ข้อมูลสร้างโดยผู้ใช้ popnaja : แคลอรี่ แป้ง, ข้าวเหนียว

แป้งข้าวโพดมีกี่ชนิด

① เลือกแป้งข้าวโพดให้เหมาะสมกับเมนูอาหาร – ในการเลือกใช้แป้งข้าวโพดเป็นวัตถุดิบหลักนั้นเราควรคำนึงถึงเมนูที่ต้องการทำก่อนว่าเป็นอาหารคาวหรืออาหารหวาน และมีเนื้อสัมผัสเป็นอย่างไร เพื่อให้อาหารจานนั้นออกมาตรงปกมากที่สุด ซึ่งแป้งข้าวโพดสามารถจำแนกออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ แป้งข้าวโพดบดละเอียด (Corn Starch ) และแป้งข้าวโพดบดหยาบ (Corn Meal)